ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยกมล หงสกุล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ รายละเอียดงบประมาณจำแนกตามงบรายจ่าย
วิทยากรบรรยาย พ.ต.อ.หญิง วิภา อัศวแสงรัตน์ ผกก.ฝวช.งป.
2
แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ การจัดสรร คำขอตั้งงบประมาณปี 2558
1. วงเงินคำขอตั้งงบประมาณปี 2558 2.1 วงเงินรายจ่ายประจำขั้นต่ำ 2.2 วงเงินผูกพันตามสัญญา หรือตาม ม.23 2.3 รายจ่ายตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล 2.4รายจ่ายตาม ภารกิจพื้นฐาน - พื้นฐานต่อเนื่อง (รักษางานเดิม) - พื้นฐานอื่นๆ (เพิ่มเป้าหมาย) - นโยบายใหม่ 2.แผนปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ ชัดเจน 3.กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า 3 ปี (MTEF)
3
งบส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
งบประมาณรายจ่าย งบส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ งบกลาง บุคลากร ดำเนินงาน ลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น 3 3 3
4
1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมายถึง รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ มี 5 ประเภทงบรายจ่าย 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น 4 4 4
5
การจำแนกงบประมาณ 1.งบบุคลากร
งบบุคลากร หมายถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่เงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนพนักงานราชการ งบบุคลากร เพิ่มเติม - เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ - เงินช่วยเหลือการครองชีพข้าราชการระดับต้น - เงินช่วยเหลือค่าครองชีพพิเศษ(ลูกจ้างประจำ) - เงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับค่าจ้างชั่วคราว - ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 5 5 5
6
2. งบดำเนินงาน งบดำเนินงาน
หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ เป็นรายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ - ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ - และค่าสาธารณูปโภค 6 6 6
7
2.งบดำเนินงาน(ต่อ) ค่าตอบแทน
หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ราชการตามที่ กระทรวงการคลังกำหนด ได้แก่ - ค่าเช่าบ้าน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เงินรางวัลกรรมการสอบ ค่าเบี้ยประชุมฯ ค่าตอบแทนเพิ่มเติม - เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการผู้ได้รับเงินเดือนขั้นสูงของอันดับ - เงินตอบแทนพิเศษของลูกจ้างประจำผู้ได้รับค่าจ้างขั้นสูงของตำแหน่ง - เงินตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำตำแหน่ง - เงินตอบแทนพิเศษรายเดือนสำหรับผู้ปฏิบัติงานในเขตพื้นที่พิเศษ 7 7 7
8
2. งบดำเนินงาน(ต่อ) ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ(ยกเว้น บริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่นๆ เช่น ค่าเช่าทรัพย์สิน ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา ทรัพย์สิน ค่ารับรอง ค่ารับรองประเภทเครื่องดื่ม ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ 8 8 8
9
2. งบดำเนินงาน(ต่อ) ค่าวัสดุ
หมายถึง รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของมีลักษณะคงทนถาวรแต่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท - รายจ่ายจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 20,000 บาท - ค่าปรับปรุงครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ไม่เกิน 5,000 บาท - ค่าปรับปรุงครุภัณฑ์วงเงินไม่เกิน 5,000 บาท - ค่าปรับปรุงที่ดินและสิ่งก่อสร้าง วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท 9 9 9
10
2.งบดำเนินงาน(ต่อ) ค่าสาธารณูปโภค
หมายถึง รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน ได้แก่ ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าสาธารณูปโภคเพิ่มเติม - ค่าโทรศัพท์พื้นฐาน/เคลื่อนที่ - ค่าใช้จ่ายให้ได้มาซึ่งบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่นค่า อินเทอร์เน็ต ค่าสื่อสารผ่านดาวเทียม - ค่าเคเบิ้ลทีวี ค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม 10 10 10
11
3. งบลงทุน งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่
ค่าครุภัณฑ์ คือรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร ราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงการประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ วงเงินเกินกว่า 5,000 บาท /จัดหาโปรแกรมคอมฯราคาต่อหน่วยเกินกว่า 20,000 บาท /ซ่อมแซมครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ /ค่าจ้างที่ปรึกษาจัดหาปรับปรุงครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง คือรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซี่งที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ติดตรึงกับที่ดินหรือสิ่งก่อสร้าง รวมค่าติดตั้งระบบไฟฟ้าประปา ปรับปรุงที่ดินสิ่งก่อสร้างวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท ค่าจ้างออกแบบ ควบคุมงาน ค่าเวนคืน ค่าชดเชย 11 11 11
12
4. งบเงินอุดหนุน งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุงหรือเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมิใช่ราชการส่วนกลางตามพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานในกำกับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตำบล องค์การระหว่างประเทศ นิติบุคคล เอกชน หรือกิจการอันเป็นสาธารณะประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุนการศาสนาและรายจ่ายที่ สงป. กำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ 12 12 12
13
4.งบเงินอุดหนุน(ต่อ) งบเงินอุดหนุน มี 2 ประเภท 1. เงินอุดหนุนทั่วไป
จ่ายตามวัตถุประสงค์เช่น เงินอุดหนุนเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จ่ายตามรายการกำหนด เช่น เงินอุดหนุนในการให้บริการป้องกัน ดูแลและรักษาโรคเอดส์ 13 13 13
14
5.งบรายจ่ายอื่น งบรายจ่ายอื่น
หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใด หรือรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนด ให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น เงินราชการลับ ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล พัฒนาระบบ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ค่าใช้จ่ายสำหรับกองทุนหรือเงินทุนหมุนเวียน ค่าใช้จ่ายสำหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 14 14 14
15
- ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร
รายจ่ายประจำขั้นต่ำ รายจ่ายประจำขั้นต่ำ หมายถึง รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามสิทธิ หรือ ข้อกำหนดตามกฎหมาย แม้ยังไม่เริ่มดำเนินงานก็ยังคงต้องจ่าย (ไม่รวมเนื้องาน)ได้แก่ - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร - ค่าเช่าทรัพย์สิน(อาคาร/ที่ดิน) - ค่าสาธารณูปโภค (ค่าไฟฟ้า/ประปา/โทรศัพท์)
16
หลักเกณฑ์(ตามแนวทาง/หลักเกณฑ์ที่สงป.กำหนดในแต่ละปี)
การจัดทำประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำ รายการ หลักเกณฑ์(ตามแนวทาง/หลักเกณฑ์ที่สงป.กำหนดในแต่ละปี) 1. งบบุคลากร - เงินเดือน - ค่าจ้างประจำ - บัญชีถือจ่าย (เงินเดือน+ส่วนควบ) หัก อัตราเกษียณปี 57 อัตราว่างปี 57 - ไม่รวมอัตราใหม่ 2. งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน - ค่าใช้สอย - ค่าสาธารณูปโภค - ค่าเช่าบ้านตามสิทธิ, ค่าตอบแทนพิเศษผู้ที่รับเงินเดือนเต็มขั้นฯลฯ - ค่าเช่าทรัพย์สิน (อาคาร/ที่ดิน) - ค่าไฟฟ้า ค่าประปาและค่าโทรศัพท์ ตั้งไม่เกินงบที่ได้รับจัดสรรใน ปี2556 ไม่รวมอาคารและอุปกรณ์ใหม่ที่เริ่มใช้ในปี2556
17
การจัดทำประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำ
รายการ หลักเกณฑ์ 3. งบเงินอุดหนุน 4. งบรายจ่ายอื่น เฉพาะค่าใช้จ่ายบุคลากรของหน่วยงานอื่นของรัฐ เช่น หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระฯลฯ หมายเหตุ 1. ค่าใช้จ่ายบุคลากรที่อยู่ในงบกลาง ประกอบด้วย เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินเลื่อนขั้นข้าราชการ เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้างและ พนักงานของรัฐ ค่ารักษาพยาบาล เงินสมทบชดเชยข้าราชการ/ลูกจ้าง ประจำ จะเป็นการตั้งใน ภาพรวมของประเทศ 2. เงินเพิ่มพิเศษค่าจ้างประจำ สงป. จะประมาณการให้ในภาพรวมของ แต่ละหน่วยงาน
18
1. งบบุคลากร(รายจ่ายขั้นต่ำ)ประกอบด้วย
1.1 เงินเดือน( งบปี 2557 )ประกอบด้วย (1) อัตราเงินเดือนเดิม อัตรา - ปรับฐานเงินเดือนเพิ่ม 6 เปอร์เซ็น - เลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจจากผลการใช้พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2554 ทำให้มีการขยายขั้นสูงระดับ ป.1-ป.3, ส.1และเลื่อนเงินเดือนข้ามแท่งระดับส.2,ส.3,ส.4และส.5 ขึ้นรับระดับส.3,ส.4, ส.5และส.6 ตามลำดับ - อัตราเงินเดือนตั้งใหม่
19
1. งบบุคลากร(รายจ่ายขั้นต่ำ)
(2) เงินประจำตำแหน่งแยกตามประเภทดังนี้ - เงินบริหาร ( 21,000 / 14,500 / 10,000 / 5,600 บาท) - เงินวิชาชีพเฉพาะ (15,600 / 13,000 / 9,900 / 3,500 บาท) - เงินเชี่ยวชาญเฉพาะ (15,600 / 13,000 / 9,900 บาท) - เงินวิชาการในโรงเรียนตำรวจ ( 13,000 / 9,900 / 5,600 / 3,500 บาท)
20
1. งบบุคลากร(รายจ่ายขั้นต่ำ)ประกอบด้วย
(3) เงินเพิ่มพิเศษอื่นๆที่จ่ายควบกับเงินเดือน - พ.ป.ผ.(เงินเพิ่มสำหรับการปราบปรามผู้กระทำผิด) - พ.ส.ร.(เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการสู้รบ) -ต.ด.ร.(เงินประจำตำแหน่งนักโดดร่ม) -ต.ท.บ.(เงินประจำตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานทำลายวัตถุระเบิด) -พ.ร.ต. (เงินเพิ่มประจำตำแหน่งผู้ทำหน้าที่ปกครองโรงเรียน) -พ.ค.ว. (เงินเพิ่มค่าวิชา ) -ต.น.อ. (เงินเพิ่มสำหรับผู้ทำงานในอากาศยานซึ่งเป็นต้นหนอากาศ) -เงินเพิ่มพิเศษผู้บังคับอากาศยาน(เงินประจำตำแหน่งผู้บังคับอากาศยาน)
21
1. งบบุคลากร(รายจ่ายขั้นต่ำ)ประกอบด้วย
(3) เงินเพิ่มพิเศษอื่นๆที่จ่ายควบกับเงินเดือน (ต่อ) - ต.ค.บ.(เงินสำหรับผู้ทำการในอากาศยานซึ่งเป็นครูการบินหรือนักบินลองเครื่อง) - ต.น.ก.(เงินสำหรับผู้ทำการในอากาศซึ่งเป็นนักบินประจำกอง) - ต.น.ด. (เงินเพิ่มประจำตำแหน่งนักประดาน้ำ) -พ.ข.ต.(เงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งประจำอยู่ในต่างประเทศ) -ต.ว.ท. (เงินประจำตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์) -ต.ก.ภ. (เงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานกู้ภัย) ฯลฯ
22
1. งบบุคลากร (ต่อ) (4) เงิน ต.ป.ป./ ต.ส.ส./ต.จ.ร.( 4,700 / 4,000 / 3,500 /3,000) ตั้งงบประมาณรองรับตามระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษตำแหน่งผู้ปฏิบัติหน้าที่ด้านป้องกันปราบปราม ด้านสืบสวน และด้านจราจร พ.ศ.2548 (5) เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับข้าราชการ ค่าตอบแทนตามระเบียบ ก.ค.ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือนของข้าราชการและลูกจ้างประจำส่วนราชการพ.ศ.2547 (6) เงินช่วยเหลือการครองชีพข้าราชการระดับต้น (เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว) (7)เงิน ส.ป.พ. สำหรับผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ศชต.และ4 อำเภอในจว.สงขลาและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่กันดารตามที่ ก.ค.กำหนด ใน พ.ท. ภ.2 และ ภ.5
23
1. งบบุคลากร (ต่อ) (8) เงิน ต.พ.ส. ปรับอัตรา ต.พ.ส. เพิ่มขึ้นตามระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ สำหรับตำแหน่งพนักงานสอบสวน พ.ศ.2554 - พงส.(สบ1) 3,500 บาท ปรับเป็น 12,000 บาท - พงส.(สบ2) 4,000 บาท ปรับเป็น 14,400 บาท - พงส.(สบ3) 4,700 บาท ปรับเป็น 17,300 บาท - พงส.(สบ4) 5,600 บาท ปรับเป็น 20,800 บาท - พงส. (สบ.5) 25,000 บาท - พงส. (สบ.6) 30,000 บาท
24
1. งบบุคลากร (ต่อ) 1.3 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
ค่าจ้างประจำ ประกอบด้วย (1) อัตราเดิม อัตรา (2) เงินเพิ่มค่าจ้างประจำ (3) เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับลูกจ้างประจำ (4) เงินช่วยเหลือการครองชีพพิเศษ (5) เงินส.ป.พ.(ค่าจ้างประจำ) (6) เงินเพิ่มพิเศษอื่น ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (1) ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (2) เงินช่วยเหลือการครองชีพพนักงานราชการ
25
1. งบบุคลากร (ต่อ) หมายเหตุ -เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำ 1.มีคุณลักษณะเฉพาะตำแหน่งที่มีวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป - มีเงินเดือนหรือค่าจ้างไม่ถึงเดือนละ 15,000 บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มฯจนกระทั่งเงินเดือนหรือค่าจ้างรวมกับค่าครองชีพฯแล้วเป็นเดือนละ 15,000 บาท 2.มีคุณลักษณะเฉพาะตำแหน่งที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี -มีเงินเดือนหรือค่าจ้างไม่ถึงเดือนละ 12,285 บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มฯ เดือนละ 1,500 บาท แต่เมื่อรวมเงินเพิ่มฯ กับเงินเดือนหรือค่าจ้างแล้วต้องไม่เกิน เดือนละ 12,285บาท * กรณีจำนวนเงินที่ได้รับดังกล่าวไม่ถึงเดือนละ9,000 บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มฯอีกจำนวนหนึ่ง แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าจ้างแล้ว ต้องไม่เกินเดือนละ 9,000บ.
26
2. งบดำเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
ค่าเช่าบ้าน(รายจ่ายขั้นต่ำ) - จำนวนข้าราชการที่มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านได้ - อัตราค่าเช่าบ้าน เป็นไปตาม พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ.2547
27
2. งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา (OT) - พิจารณาตามความจำเป็นของแต่ละหน่วย - ให้เป็นไปตามระเบียบฯ เกณฑ์การเบิกจ่าย วันธรรมดา ไม่เกิน 4 ชม./50 บาท วันหยุดไม่เกิน 7 ชม./60 บาท เช่น บช.น. หรือหน่วยงานฝ่ายอำนวยการ จะตั้งคำขอเป็น ค่า OT เป็นต้น ค่าตอบแทนและค่าอาหารการปฏิบัติงานควบคุมสถานการณ์ความไม่สงบ - ค่าตอบแทน 400 บาท - ค่าอาหารเหมาจ่าย 300 บาท ค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข ค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์กรณีไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว
28
2. งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ - ป.วิ อาญา ม.12 ทวิ วรรคสอง - ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทนฯ พ.ศ.2543 - อัตราการเบิกจ่าย 500 บาท/ครั้ง/คน ไม่เกินคนละ 1 ครั้ง/วัน - ตั้งให้เฉลี่ย ตามสถิติเบิกจ่ายจริง อาจใช้สถิติย้อนหลัง 3 ปี - ค่าพาหนะ ตั้งตาม พ.ร.ฎ.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2554
29
2. งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนแพทย์/เจ้าพนักงานชันสูตรพลิกศพ - ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทนฯ ป.วิ อาญา ม.150 พ.ศ.2543 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2547 - เกณฑ์เบิกจ่าย ชันสูตรพลิกศพที่เกิดเหตุในแต่ละครั้ง จ่ายไม่เกิน 800บาท/คน - ชันสูตรที่ รพ./นิติเวช/อื่น ตรวจศพภายนอก ศพละไม่เกิน 500 บาท/ ผ่าพิสูจน์ภายใน ศพละไม่เกิน 1,000 บาท/ ผ่าพิสูจน์ภายในและตัดตรวจชิ้นเนื้อ ศพละไม่เกิน 2,000 บาท - หากชันสูตรกระทำโดยแพทย์ทางนิติเวชศาสตร์หรือพยาธิแพทย์ให้จ่ายค่าตอบแทนฯเพิ่มขึ้นอีกกึ่งหนึ่ง
30
2.งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน
ค่าเบี้ยประชุม ก.ตร. กต.ตร. - ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตำรวจ พ.ศ.2542 - การเบิกจ่ายตาม พ.ร.ฏ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ.ศ.2547 ฯ - เกณฑ์การตั้ง ตามผลเบิกจ่ายจริงของจำนวนครั้ง ตามที่ ก.ตร.กำหนด ค่าตอบแทนสำหรับการปฏิบัติงานด้านการข่าวความมั่นคง(รสง) ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานให้ราชการ(รสง. , สุขภาพ)
31
2. งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา - ตั้งตามสถิติคดีอาญา - หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการ จ่ายเงินค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา พ.ศ.2534 - อัตราการเบิก อัตราโทษจำคุก ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน บาทต่อคดี อัตราโทษจำคุก 3 – 10 ปี ไม่เกิน 1,000 บาทต่อคดี อัตราโทษจำคุก เกิน 10 ปีขึ้นไป ไม่เกิน 1,500 บาทต่อคดี * จับตัวไม่ได้เบิกกึ่งหนึ่ง
32
2. งบดำเนินงาน - ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคุ้มครองพยาน (ในเขตจังหวัด ครั้งละ 200 บาท/คน,นอกเขตจังหวัด ครั้งละ500 บาท / คน และค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน (พ.ร.บ.คุ้มครองพยานในคดีอาญาพ.ศ.2546) (ของพยาน , ของเจ้าหน้าที่) ค่าตอบแทนผู้ตรวจยาเสพติด (สนว.)ระเบียบ กค.ว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทนผู้ตรวจพิสูจน์ชนิดยาเสพติด พ.ศ.2546) 100บาท/คดี สารบริสุทธิ์ 200บาท/คดี ค่าสมนาคุณวิทยากร ค่าตอบแทนล่ามแปล (ปส.) ค่าตอบแทนพิเศษเงินเดือนเต็มขั้น (ระเบียบ กค.ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการและลูกจ้างประจำผู้ที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างถึงขั้นสูงสุดของอันดับหรือตำแหน่ง พ.ศ.2544 เป็นรายจ่ายขั้นต่ำ) ค่าตอบแทนพิเศษรายเดือนสำหรับผู้ปฎิบัติงาน จชต.(รายจ่ายขั้นต่ำ)(1,000-2,500)
33
2. งบดำเนินงาน - ค่าใช้สอย
2. งบดำเนินงาน - ค่าใช้สอย ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พักและค่าพาหนะเดินทาง (พรฏ.คชจ.เดินทางฯ) -โดยต้องแยกกำลังพลเป็นสายปฏิบัติการ,สายอำนวยการและหัวหน้าหน่วยไปราชการ(ตามเกณฑ์ที่ ตร. กำหนด สาย ปก. 50% , อก. 30 % ,หน.หน่วยไปราชการ 100%) ค่าซ่อมแซมยานพาหนะ (ตั้งตามอายุของยานพาหนะ,ตามเกณฑ์สำนักงบประมาณ) ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ค่าเช่าทรัพย์สิน (สัญญาเช่า) ค่าเช่ายานพาหนะ ค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร(สถิติจ่ายจริง) ค่าใช้จ่ายในการสอบ ค่าใช้จ่ายในการผลิตและฝึกอบรมตำรวจ(ระเบียบกค.ว่าด้วยคชจ.ในการฝึกฯ) ค่าปฏิบัติงานข่าว (จชต.,ปส.) ค่าซ่อมบำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์(สัญญาจ้าง) ค่าเบี้ยเลี้ยงประจำ (นสต บาท / นรต บาทต่อวัน) ค่าธรรมเนียมความและเงินวางศาล ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน(กรุงเทพ ไม่เกิน150 บาท/จังหวัดอื่น 200 บาท)
34
2. งบดำเนินงาน - ค่าใช้สอย
2. งบดำเนินงาน - ค่าใช้สอย ค่าจ้างเหมาบริการ เช่นค่าจ้างเหมาทำความสะอาด ,ค่าจ้างเหมาอื่นๆ ค่าจ้างเหมาขนย้ายครุภัณฑ์และอุปกรณ์การฝึก ค่าเช่ายานพาหนะ (ผูกพันเดิม+ตั้งใหม่) ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ค่าบำรุงรักษารถ x-ray ค่าโฆษณาและเผยแพร่ ค่ารับรองและพิธีการ ค่าซ่อมบำรุงเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ค่าซ่อมบำรุงเครื่องมือพิเศษ ค่าใช้จ่ายกีฬากองทัพไทย ค่าเช่าเรือตรวจการณ์(ตม.) ค่าประกันภัยรถยนต์
35
2. งบดำเนินงาน - ค่าใช้สอย
2. งบดำเนินงาน - ค่าใช้สอย เงินรางวัลเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อการถวายอารักขาฯ ค่าซ่อมแซมเครื่องตรวจวัดแอลกอฮอล์ ค่าสอบเทียบค่ามาตรฐานเครื่องมือวิทยาศาสตร์ เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ค่าบำรุงรักษาระบบศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191
36
2. งบดำเนินงาน - ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (สถานภาพ+อัตราตามเกณฑ์ ตร.กำหนด) ค่าวัสดุยุทธภัณฑ์ ค่าวัสดุเครื่องแต่งกาย ( ชั้นประทวน 2,000 บาท/นาย) ค่าวัสดุสนามและการฝึก ค่าอาหารผู้ต้องหา จ่ายจริงไม่เกิน อัตราวันละ 75 บาท ค่าอาหารสำเร็จรูป จ่ายจริงไม่เกิน 30 บาท 4 มื้อต่อวัน วัสดุยาและเวชภัณฑ์
37
2. งบดำเนินงาน - ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ วัสดุโฆษณาและเผยแพร่ วัสดุเครื่องช่วยฝึก วัสดุคอมพิวเตอร์ วัสดุจราจร วัสดุป้องกันอันตราย/วัสดุดับเพลิง เครื่องอุปโภคบริโภค วัสดุป้องกันและรักษาสถานที่เกิดเหตุ
38
2. งบดำเนินงาน - ค่าวัสดุ
วัสดุงานสายตรวจ/ตู้แดง วัสดุงานบ้านงานครัว วัสดุการศึกษา วัสดุหนังสือ วารสารและตำรา วัสดุการเกษตร วัสดุกีฬา วัสดุงานการบินและวัสดุอื่นๆ วัสดุก่อสร้าง
39
2. งบดำเนินงาน - ค่าวัสดุ
วัสดุเครื่องมือสื่อสาร วัสดุซ่อมรถเกราะ วี-150 วัสดุสำหรับสายตรวจปฏิบัติการท่องเที่ยว วัสดุสำหรับเครื่องตรวจวัดแอลกอฮอล์ ค่าใช้จ่าย ในการปฏิบัติงานศูนย์ข้อมูลกลางยาเสพติด DNA และลายพิมพ์นิ้วมือแฝง วัสดุเครื่องมือวิทยาศาสตร์
40
งบดำเนินงาน - ค่าวัสดุ
วัสดุอาหารและยาให้สุนัขและม้า (สุนัข 80บาท,ม้า 232 บาท) วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุยานพาหนะ (สถานภาพ+อัตราตามเกณฑ์ ตร.กำหนด) วัสดุเรือตรวจการณ์ (สถานภาพ+อัตราตามเกณฑ์ ตร.กำหนด) วัสดุแบบพิมพ์ ฯลฯ
41
2. งบดำเนินงาน – 2.2 ค่าสาธารณูปโภค
ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าไปรษณีย์ ค่าเช่าวงจรคู่สาย C3I POLIS ค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม ค่าให้บริการสัญญาณเคเบิ้ลทีวี ค่าบริการทางอินเตอร์เน็ต
42
3. งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ให้ประมาณการรายจ่าย ดังนี้ 1. รายการผูกพันตามสัญญา 2. รายการผูกพันตามมาตรา 23 (งบผูกพัน) 3. กิจกรรมและรายการที่ต้องดำเนินการเป็นปกติ และเป็นภารกิจหลักตามกฎหมาย หรือมีข้อผูกพันตามกฎหมายที่ชัดเจน และจำเป็นต้องดำเนินการต่อเนื่อง ข้อจำกัด 1. รายการครุภัณฑ์ ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ และสถานภาพครุภัณฑ์ 2. รายการสิ่งก่อสร้าง ต้องมีแบบรูปรายการ และประมาณการราคา
43
3. งบลงทุน – ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
3.1 ค่าครุภัณฑ์ ครุภัณฑ์รายการผูกพัน ครุภัณฑ์ที่มีราคาต่อหน่วย ต่ำกว่า 1 ล้านบาท ครุภัณฑ์ที่มีราคาต่อหน่วยตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป 3.2 ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง สิ่งก่อสร้างรายการผูกพัน สิ่งก่อสร้างที่มีราคาต่อหน่วย ต่ำกว่า 10 ล้านบาท สิ่งก่อสร้างที่มีราคาต่อหน่วยตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป
44
4. งบเงินอุดหนุนมี 2ประเภท
1.เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ - เงินอุดหนุน ที่เบิกจ่ายในลักษณะเข้ากับงบรายจ่ายประเภทใด (งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน) ให้ใช้เกณฑ์ในการประมาณ การรายจ่ายของงบรายจ่ายนั้นโดยอนุโลม
45
4. งบเงินอุดหนุน เงินรางวัล เงินสินบน ค่าใช้จ่ายในการสืบจับและค่าปลงศพ
เงินอุดหนุนโรงเรียนเตรียมทหาร เงินอุดหนุนโครงการพัฒนาวิชาการตำรวจ เงินอุดหนุนโครงการพัฒนาบุคลากรประเภทนักบินปีกติด เงินอุดหนุนสถาบันต่าง ๆ ที่ ตร.ฝากเรียน (ทร. / สถาบันการบินฯ) เงินอุดหนุนนักเรียนทุนด้านวิทยาศาสตร์ของ สนว. เงินอุดหนุนองค์การตำรวจระหว่างประเทศ ฯลฯ
46
5. งบรายจ่ายอื่น - งบรายจ่ายอื่นที่เบิกจ่ายในลักษณะเข้ากับงบรายจ่ายใดให้ใช้เกณฑ์ในการประมาณรายจ่ายของงบรายจ่ายนั้น และประมาณการตามความจำเป็น
47
5. งบรายจ่ายอื่น เงินราชการลับ (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการใช้งบประมาณเงินราชการลับ พ.ศ.2547) ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ค่าใช้จ่ายตามโครงการวิจัยต่าง ๆ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการด้านยาเสพติด ฯลฯ
48
งบประมาณ = ทรัพยากรที่ใช้ X อัตรา X เวลา
หลักเกณฑ์การตั้งคำของบประมาณ การคำนวณงบประมาณ (เม็ดเงิน) (เกณฑ์) (สถานภาพ) งบประมาณ = ทรัพยากรที่ใช้ X อัตรา X เวลา เช่น คำนวณเบี้ยเลี้ยง รอง สว. 10 คน อัตราเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย 240บ./วัน ปฏิบัติงาน 10 วัน (งบประมาณ) 24,000 =10 *240 *10
51
สงป.301 ยุทธศาสตร์การจัดสรร.. ตัวอย่าง
สงป ยุทธศาสตร์การจัดสรร.. หน่วย รวมทั้งสิ้น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 (ล้านบาท) ไตรมาส 4 แผนงาน..... แผน ผล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์.. เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ตัวชี้วัด..... ร้อยละ 80 ผลผลิต..... 1. แผนการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด-เชิง..... คดี 564 141 กิจกรรม..การสืบสวน 2. แผนการใช้จ่ายงบฯ กิจกรรม..... ล้านบาท 76 16 18 19 23 รวมงบประมาณ ตัวอย่าง
52
ประเภทรายจ่าย/รายการ ผลผลิต
ประเภทรายจ่าย/รายการ ผลผลิต รวมทั้งสิ้น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 (ล้านบาท) ไตรมาส 4 สงป. 302 แผน ผล งบบุคลากร - รายการ 1. รายการ..... 40 10 งบดำเนินงาน - รายการ 20 2 4 6 8 งบลงทุน - รายการ งบเงินอุดหนุน - รายการ 1 งบรายจ่ายอื่น - รายการ 1. รายการ รวมงบประมาณ 76 16 18 19 23 ตัวอย่าง
53
การประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF)
เป็นการจัดทำกรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า 1+3 ปี ซึ่งจะแสดงภาพรวมของภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ประกอบด้วย เป้าหมายประมาณการเศรษฐกิจมหภาค ฐานะการคลังล่วงหน้า การประมาณการรายรับ รายจ่าย และภาระหนี้ที่จะเกิดขึ้น มีประโยชน์เพื่อการรักษาวินัยการคลัง ควบคุมการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายและเป็นกรอบในการตัดสินใจ กำหนดทางเลือกจัดสรรงบประมาณ แสดงภาระงปม.ที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจในปัจจุบัน การสร้างอาคาร ผูกพัน 2 ปี ปีที่ 3 จะเกิดค่าสาธารณูปโภค rolling plan การปรับประมาณการทุกปีให้สอดรับสถานการณ์ รวมทั้งอาจมีนโยบายใหม่เกิดระหว่างปี การอนุมัติของสภาคงเป็นปี/ปี
54
กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางของ
หน่วยงาน / ผลผลิต หลักการ ... นำผลการทบทวน แผน/ผล การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด วงเงินค่าใช้จ่ายในปี 2556 และ ผลจากการติดตามการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบ ประมาณ ในปี 2556 มาเป็นฐานในการปรับปรุงงบ ประมาณ รายจ่ายล่วงหน้า เพื่อเตรียมการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปีประมาณ 2557
55
ภาพแสดงงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง
= งบประมาณ + 3 ปีถัดไป ปีที่ 1 งบประมาณ ปีถัดไปปีที่ 1 ปีถัดไปปีที่ 2 ปีถัดไปปีที่ 3 2557 2558 2559 25607 ปีที่ 2 งบประมาณ ปีถัดไปปีที่ 1 ปีถัดไปปีที่ 2 ปีถัดไปปีที่ 3 2558 2559 2560 2561 ปีที่ 3 งบประมาณ ปีถัดไปปีที่ 1 ปีถัดไปปีที่ 2 ปีถัดไปปีที่ 3 2559 2560 2561 2562
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.