แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
บทที่ 5 แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่ จดบันทึกทุกขั้นตอนของการผลิตที่ซับซ้อน ไม่เหมาะสม พัฒนาเครื่องมือ/ เทคนิคการบันทึก การเขียนเป็นข้อความ แผนภูมิและไดอะแกรม Rujipas potongsangarun

2 จดบันทึกทุกขั้นตอนของการผลิตที่ซับซ้อน
ไม่เหมาะสม พัฒนาเครื่องมือ/ เทคนิคการบันทึก การเขียนเป็นข้อความ แผนภูมิและไดอะแกรม

3 แผนภูมิกระบวนการผลิต
2 กลุ่ม กลุ่มที่ใช้สำหรับบันทึกลำดับของขบวนการผลิต เช่น เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นเรียงตามลำดับก่อนหลัง ซึ่งไม่มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องในแต่ละกิจกรรม แผนภูมิกระบวนการผลิต Rujipas potongsangarun

4 แผนภูมิ แผนภูมิกิจกรรม
กลุ่มที่ใช้บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและลำดับก่อนหลังเหมือนกันแต่มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง แผนภูมิประเภทนี้เป็นแผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการผลิต แผนภูมิกิจกรรม

5 แผนภูมิและไดอะแกรมที่ใช้ในการศึกษาวิธีการ
แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับลำดับของกระบวนการผลิต - แผนภูมิกระบวนการผลิตอย่างสังเขป (Outline Process chart) - แผนภูมิกระบวนการผลิต(Flow Process chart) ต่อเนื่องประเภทคน ประเภทวัสดุ ประเภทเครื่องจักร - แผนภูมิกระบวนการผลิตของกลุ่ม (Group Process chart) - แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวา (left and right Hand chart) Rujipas potongsangarun

6 แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการผลิต-มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง
- แผนภูมิกิจกรรม (Activity chart) - แผนภูมิกิจกรรมทวีคูณ(Multiple Activity chart) - แผนภูมิคน-เครื่องจักร (Man-Machine chart) - แผนภูมิการทำงานของสองมือโดยละเอียด (Simo chart) Rujipas potongsangarun

7 ไดอะแกรม แผนภูมิ แผนภูมิและไดอะแกรมที่บ่งบอกถึงการเคลื่อนไหว
- แผนภูมิการเดินทาง (Travel chart) - ไดอะแกรมการเคลื่อนที่(Flow Diagram) - ไดอะแกรมสายใย(String Diagram) ไดอะแกรม แผนภูมิ สามารถบ่งบอกความเคลื่อนไหวได้ชัดเจนกว่าแผนภูมิ Rujipas potongsangarun

8 สัญลักษณ์ 5 สัญลักษณ์ บ่งบอกเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น ตามลำดับในการปฏิบัติงาน คือสัญลักษณ์แทนการปฏิบัติงาน บ่งบอกถึงขั้นตอนที่สำคัญในขบวนการผลิต ในวิธีการ หรือในแนวทางการปฏิบัติงาน สัญลักษณ์นี้ใช้ได้ทั้งงานในโรงงานและงานในสำนักงาน Rujipas potongsangarun

9 คือ สัญลักษณ์แทนการตรวจสอบงาน
บ่งบอกถึงการตรวจสอบคุณภาพของงานหรือตรวจสอบปริมาณของงาน คือ สัญลักษณ์แทนการขนถ่าย บ่งบอกการเคลื่อนไหวของคนงาน วัสดุ หรือเครื่องจักรจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง 4. D คือ สัญลักษณ์แทนที่เก็บพักชั่วคราวหรือการรอ บ่งบอกถึงการรอที่เกิดขึ้นในลำดับขั้นของเหตุการณ์ เช่น งานที่รอคอยอยู่ระหว่างการปฏิบัติงานของหน่วยต่อเนื่องกัน (กล่องรอการบรรจุ ชิ้นส่วนที่รอเพื่อจะนำไปเก็บในกล่อง) Rujipas potongsangarun

10 สัญลักษณ์แทนที่เก็บพักถาวร บ่งถึงที่เก็บพักที่ควบคุมได้อย่างเป็นทางการ
สัญลักษณ์แทนการรวมงานเข้าด้วยกัน บ่งถึงการทำงานต่างๆในเวลาเดียวกันหรือโดยคนงานคนเดียวกัน ณ.สถานที่ทำงานแห่งเดียวกัน(การรวมงานระหว่างการปฏิบัติงานและการตรวจสอบ) Rujipas potongsangarun

11 แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับลำดับของกระบวนการผลิต
ใช้บันทึกขั้นตอนกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่องในแบบฟอร์มมาตรฐานสำหรับส่วนงานที่ต้องการปรับปรุงขั้นตอนวิธีการทำงานโดยกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของงานให้ชัดเจน งานที่ต้องการ ปรับปรุง แผนภูมิ กำหนดแนวทางและขั้นตอนวิธีการทำงานที่ดีขึ้น แผนภูมิ พิจารณา ตรวจตรา วิเคราะห์ จดบันทึก Rujipas potongsangarun

12 2.เวลาที่ใช้ทั้งหมดลดลง 3.ระยะทางการเดินทั้งหมดที่ลดน้อยลง
การเปรียบเทียบ ผลงานที่ดีขึ้น 1.จำนวนสัญลักษณ์ลดลง 2.เวลาที่ใช้ทั้งหมดลดลง 3.ระยะทางการเดินทั้งหมดที่ลดน้อยลง Rujipas potongsangarun

13 (Outline Process chart)
-แผนภูมิกระบวนการผลิตโดยสังเขป (Outline Process chart) เป็นแผนภูมิที่ใช้แสดงขั้นตอนกระบวนการผลิตอย่างกว้างๆโดยการจดบันทึกเฉพาะการปฏิบัติงานที่สำคัญๆและการตรวจสอบที่เกิดขึ้นตามลำดับขั้นตอนเท่านั้น จึงถูกบันทึกด้วยสัญลักษณ์เพียง 2 สัญลักษณ์เท่านั้น ( และ ) Rujipas potongsangarun

14 -แผนภูมิกระบวนการผลิต(Flow Process Chart)
เป็นแผนภูมิกระบวนการผลิตที่กำหนดการเคลื่อนย้ายตามลำดับก่อนหลังของกระบวนการผลิตโดยการบันทึกเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นด้วยการใช้สัญลักษณ์ที่เหมาะสม แบ่งเป็น 3 ประเภท 1.แผนภูมิกระบวนการผลิตประเภทคน :บันทึกว่าคนงานได้ทำงานอะไรบ้าง 2.แผนภูมิกระบวนการผลิตประเภทวัสดุ:บันทึกว่าวัสดุได้ถูกขนย้ายหรือถูกทำงานอย่างไร 3.แผนภูมิกระบวนการผลิตประเภทเครื่องจักร:บันทึกว่าเครื่องจักรได้ถูกทำงานอย่างไร Rujipas potongsangarun

15 - แผนภูมิกระบวนการผลิตของกลุ่ม (Group Process chart)
เป็นแผนภูมิกระบวนการผลิตที่ใช้บันทึกการทำงานของกลุ่มคนงานมากกว่า 1 คน ในการบันทึกใช้สัญลักษณ์ในมาตรฐานเดียวกัน เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการทำงานของคนงานแต่ละคนในทีมงานเดียวกัน ลดเวลารอคอยหรือล่าช้าของคนใดคนหนึ่งในทีมงาน และทำให้ผลงานโดยรวมดีขึ้น Rujipas potongsangarun

16 เทคนิคการบันทึก 1.การบันทึกต้องครอบคลุมรอบการทำงานของสมาชิกในทีมงานซึ่งมีจำนวนขั้นตอนของงานมากที่สุด 2.งานของสมาชิกแต่ละคนจะถูกบันทึกรายตัวในเวลาเดียวกันจะบันทึกเรียงหน้ากระดาษในระดับเดียวกัน 3.การให้คำบรรยายกิจกรรมของแต่ละขั้นตอนจะใช้วิธีการให้เป็นหมายเลขกำกับในสัญลักษณ์และให้คำบรรยายกิจกรรมตามหมายเลขไว้ข้างขวาของแผนภูมิ Rujipas potongsangarun

17 เทคนิคการบันทึก 4.ไม่จำเป็นต้องบันทึกกิจกรรมซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นทุกๆรอบของงานที่บันทึกเช่น การหยุดพักผ่อนของคนงานในทีมงานชั่วขณะ 5.ในการบันทึกต้องกำหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของงานได้ชัดเจน 6.การสรุปเปรียบเทียบการวัดผลการปรับปรุงวิธีการทำงาน(จำนวนหน่วยที่ได้ จำนวนกิจกรรม หรือจำนวนกิจการ/หน่วย) Rujipas potongsangarun

18 เทคนิคการบันทึกใช้แผนภูมิกระบวนการผลิตกลุ่ม
- แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวา(แผนภูมิการดำเนินงาน) (left and right Hand chart) แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวาหรือแผนภูมิการทำงานสองมือเปรียบเสมือนการทำงานของคน 2 คน บันทึกการทำงานที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน เทคนิคการบันทึกใช้แผนภูมิกระบวนการผลิตกลุ่ม พิจารณาการทำงานของมือขวา พิจารณาการทำงานของมือซ้าย บันทึก บันทึก จัดความสัมพันธ์ Rujipas potongsangarun

19 แผนภูมิบันทึกการเคลื่อนไหว
วิเคราะห์รายละเอียดของการเคลื่อนที่ ปรับปรุงวิธีการเคลื่อนที่ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีการทำงานที่ง่ายขึ้น ผลงานดีขึ้น ลด ตัดทอนการเคลื่อนที่ที่ไม่จำเป็น จัดการลำดับขั้นตอนการเคลื่อนที่ที่ดีที่สุด Rujipas potongsangarun

20 แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการผลิต-มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง
- แผนภูมิกิจกรรม (Activity chart) เป็นแผนภูมิกระบวนการผลิตซึ่งมีเวลาประกอบการบันทึกวิธีการทำงาน ซึ่งช่วยให้สามารถวิเคราะห์ส่วนของงานต่างๆได้ง่ายขึ้น ได้แก่ ส่วนเวลาที่ใช้ในการรอคอยหรือหยุด(D และ )เป็นการแสดงความชัดเจนถึงส่วนของเวลาไร้ประสิทธิภาพของการทำงาน เวลาที่ใช้สำหรับการเคลื่อนย้ายและการตรวจสอบ( )เป็นการแสดงสัดส่วนของเวลาส่วนเกิน กระบวนวิธีการทำงานที่บันทึกเวลา ง่ายแก่การปรับปรุง Rujipas potongsangarun

21 - แผนภูมิกิจกรรมทวีคูณ(Multiple Activity chart)
แผนภูมิกระบวนการผลิตของกลุ่มซึ่งมีสเกลเวลาแสดงเปรียบเทียบเวลาทำงานของคนแต่ละคนหรือกิจกรรมร่วมระหว่างคนกับเครื่องจักรหรือวัสดุมากกว่าสองกระบวนการโดยบันทึกรวมกันอยู่ในแผนภูมิเดียวกัน Rujipas potongsangarun

22 - แผนภูมิคน-เครื่องจักร (Man-Machine chart)
เป็นแผนภูมิกิจกรรมทวีคูณชนิดพิเศษซึ่งใช้บันทึกเฉพาะการทำงานของคนและเครื่องจักรเท่านั้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของการทำงานของคนและเครื่องจักร โดยมีหลักว่า เครื่องจักรต้องไม่รอคน คนต้องไม่รอเครื่องจักร Rujipas potongsangarun

23 - แผนภูมิการทำงานของสองมือโดยละเอียด (Simo chart)
แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวาโดยมีสเกลเวลาในการกำกับ ซึ่งต้องใช้การศึกษากระบวนการเคลื่อนที่เชิงอนุภาควิเคราะห์โดยการวิเคราะห์ฟิล์มเนื่องจากสองมือเคลื่อนที่เร็วมาก Rujipas potongsangarun

24 แผนภูมิและไดอะแกรมที่บ่งบอกถึงการเคลื่อนไหว
แผนภูมิการเดินทางและไดอะแกรมสายใยเป็นเครื่องมือที่บันทึกการเดินทางเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาการขนย้ายและการเคลื่อนที่ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน - แผนภูมิการเดินทาง (Travel chart) เป็นการบันทึกข้อมูลการเคลื่อนที่ของคน วัสดุ หรือ เครื่องมือในที่ทำงานใดใดระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น ใน 1 วันมีการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งจำนวนกี่ครั้ง Rujipas potongsangarun

25 - ไดอะแกรมการเคลื่อนที่(Flow Diagram)
เป็นเทคนิคการบันทึกที่ง่ายและมีประโยชน์ในการวิเคราะห์การเดินทางในส่วนของข้อมูลระยะทางการเดินทาง การสร้างไดอะแกรมสายใยต้องอาศัยแผนผังสถานที่ทำงานในสัดส่วนระยะทางที่เป็นจริงโดยการย่อส่วนเพื่อง่ายต่อการบันทึกการเดินทาง โดยใช้สายใยแทนระยะทางการเดินทางของคนงาน วัสดุหรือเครื่องมือ Rujipas potongsangarun

26 - ไดอะแกรมสายใย(String Diagram)
ทำหน้าที่แสดงแผนผังของสถานที่ทำงาน ใช้ประกอบกับการบันทึกแผนภูมิกระบวนการผลิตต่างๆ ทำให้เห็นภาพรวมของสถานที่ทำงาน เกิดความชัดเจนในการพิจารณาวิเคราะห์ข้อมูลกระบวนการวิธีการทำงานที่บันทึกในแผนภูมิกระบวนการผลิต Rujipas potongsangarun

27 แผนภูมิตัวอย่าง การปรับปรุงกระบวนการวิธีการจ่ายยาในโรงพยาบาล
การปรับปรุงกระบวนการผลิตเครื่องปรุงรสหมูสับ การปรับปรุงกระบวนการตัดหลอดแก้ว การปรับปรุงกระบวนการเย็บคอเสื้อ Rujipas potongsangarun

28 แผนภูมิตัวอย่าง การปรับปรุงกระบวนการปักด้าย
การปรับปรุงการขนย้ายเก็บสต็อกถ้วยชามกระเบื้อง Rujipas potongsangarun

29 จบ......


ดาวน์โหลด ppt แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google