งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
เสนอต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน) และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์) พร้อมด้วยคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมกรมควบคุมโรค วันที่ 29 กันยายน 2557 เวลา – น. ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล อาคาร 1 ชั้น 1 กรมควบคุมโรค

2 วิสัยทัศน์กรมควบุคมโรค
เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนาเป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว การติดตามและประเมินผล บริหารจัดการและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievemt motivation Relationship Teamwork

3 อัตรากำลัง กรมควบคุมโรค กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม กรมควบคุมโรค ศูนย์พัฒนากฎหมาย สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก สำนักวัณโรค กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักสื่อสารความเสี่ยงและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์สารสนเทศ สำนักจัดการความรู้ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ สำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ กองคลัง กองแผนงาน สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สถาบันราชประชาสมาสัย สถาบันบำราศนราดูร กรมควบคุมโรค แบ่งส่วนราชการออกเป็น 37 หน่วยงาน ประกอบด้วย หน่วยงานตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ 27 หน่วยงาน และหน่วยงานที่จัดตั้งเป็นการภายใน 10 หน่วยงาน มีอัตรากำลัง รวมทั้งสิ้น 6,024 อัตรา เป็นข้าราชการ 3,170 อัตรา ลูกจ้างประจำ 1,971 อัตรา และพนักงานราชการ 883 อัตรา สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ สำนักโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง อัตรากำลัง = สายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่ออธิบดี = หน่วยงานตามโครงสร้าง = หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเป็นการภายใน สำนักระบาดวิทยา สคร รวมทั้งสิ้น 6,024 อัตรา ประกอบด้วย ข้าราชการ ,170 อัตรา ลูกจ้างประจำ ,971 อัตรา พนักงานราชการ อัตรา ข้อมูล : กองการเจ้าหน้าที่ ณ เดือนมิถุนายน 2557

4 ทิศทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค ปี 2558
เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผล การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ Surveillance system, EOC, SRRT COE => BDI/Rajpracha Institute/Regional Disease Control Office Vaccine Security HRP/HRD/PMS Global Health /ASEAN/ITC/IRC ขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Acute CD => DHF/EPI/HFM /Food poisoning Chronic CD => TB/AIDS/Leprosy NCD & Injury, incl. Alcohol & Tobacco Env-Occ => Agriculture Sector Multi-sectoral Collaboration Health in all policies (HIAP) One health => EID, Zoonosis DHS/DC Community

5 ยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืน ด้านควบคุมโรคของประเทศ 2558-2562
ระบบ ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของประเทศ DC System Excellence Center SRRT Surveillance EOC Occupational Health Agriculture/ Industry Point of entry /Border Health /Migrant Special Setting/Pop Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Infrastructure / Equipment + Lab / MIS Manpower / HRD / ITC /R & D

6 24 เป้าหมายงานควบคุมป้องกันโรค
ข้อมูล ณ 4 ก.ค และ 22 ส.ค 1. โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (ณ 22 ส.ค. 2557) Poliomyelitis ปีพ.ศ ไม่มีผู้ป่วยจากโปลิโอจากเชื้อโอลิโอชนิดก่อโรค (รักษา Polio Free Status) Measles - ปีพ.ศ ราย ต่อแสนประชากร (2,250 ราย) Diphtheria - ปีพ.ศ ราย ต่อแสนประชากร (10 ราย) Pertussis - ปีพ.ศ ราย ต่อแสนประชากร (50 ราย) Tetanus neonatorum - ปีพ.ศ มีผู้ป่วยบาดทะยักในทารกแรกเกิดน้อยกว่า 1 รายต่อพันการเกิดมีชีพ รายจังหวัด JE - ปีพ.ศ ราย ต่อแสนประชากร (90 ราย) Hepatitis B - ปีพ.ศ เด็กต่ำกว่า 5 ปี เป็นพาหะตับอักเสบไม่เกินร้อยละ 0.25 (10,000 ราย) 2. โรคติดต่อสำคัญอื่นๆ Filariasis (โรคเท้าช้าง) - ปีพ.ศ อัตราไมโครฟิลาเรียในเลือดในเด็กอายุ 6-7 ปี ในพื้นที่แหล่งโรค ไม่เกินร้อยละ 1 Rabies (โรคพิษสุนัขบ้า) - ปี กำจัด ต้องไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าภายในปี 2560 Leprosy (โรคเรื้อน) - ปี ลดผู้ป่วยใหม่ให้น้อยกว่า 100 ราย - Malaria - ปี ผู้ป่วยมาลาเลียไม่เกิน 12,957 ราย

7 24 เป้าหมายงานควบคุมป้องกันโรค
ข้อมูล ณ 4 ก.ค. 2557 AIDS - ปี ยุติปัญหาเอดส์ คือ ไม่มีเด็กคลอดมาติดเชื้อ และผู้ใหญ่ติดเชื้อใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย TB - ปี ลดผู้ป่วยให้เหลือน้อยกว่า 60,000 รายต่อปี (ลดลงร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับการคาดการณ์ของ WHO ปี 2555)  โรคพยาธิใบไม้ตับ - ปี ความชุกของโรคพยาธิใบไม้ตับให้เหลือไม่เกิน ร้อยละ 5 3. โรคไม่ติดต่อ อุบัติเหตุจราจร - ปี ควบคุม อัตราตายลดลง 50% จากปี 2554 NCD - ปี ควบคุม อัตราการตายลดลง 25% จากปี 2553(4 โรค – เบาหวาน, หลอดเลือดหัวใจ, มะเร็ง, ปอดเรื้อรัง) 4. ควบคุมปัจจัยเสี่ยง แอลกอฮอล์ - ปี ลดนักดื่มลง 2.6 ล้านคน (ให้เหลือ 17.8 ล้านคน) ยาสูบ - ปี 2563 ความชุกของการบริโภคยาสูบของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือร้อยละ 16 ความดันโลหิตสูง - ปี ลดผู้ป่วยลง (ความชุก) ร้อยละ 30 เทียบกับปี 2553 เบาหวาน - ปี ผู้ป่วยเท่ากับปี (ไม่เพิ่มขึ้น) ความอ้วน (Obesity) - ปี ผู้ป่วยเท่ากับปี (ไม่เพิ่มขึ้น) การบริโภคเกลือ - ปี การบริโภคเกลือลดลงร้อยละ 30 เทียบกับปี 2553 การไม่ออกกำลังกาย - ปี ลดลงร้อยละ 10 เทียบกับปี 2553 5. Env-Occ สารเคมีในเกษตรกร - ปี สารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรที่เกินมาตรฐาน ลดลงร้อยละ 10 เทียบปี 2556

8 International standard
DDC Policy 2015 15 โครงการสำคัญ GOAL Information Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3ส โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ และพระราชดำริ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมโรคติดเขื้อในโรงพยาบาล วัยเด็ก : ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ วัยเรียน : ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ วัยรุ่น : ขับเคลื่อนงานด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคยาสูบ วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและอุบัติเหตุ ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง : เอดส์และวัณโรค ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoral cooperation) ความมั่นคงด้านวัคซีน แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมควบคุมโรค (HRP/HRD/PMS) ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล พัฒนาวิชาการและการวิจัย

9 ระบบเฝ้าระวังพื้นฐาน และการบริหารจัดการ
กรอบงาน และงบดำเนินงาน ( ลบ) กรมควบคุมโรค ปี 2558 สอดคล้องนโยบาย ทิศทาง ตาม 5 หน้าที่ 11 บทบาท NHA 15 โครงการหลัก KPI กระทรวง จุดเน้นกรมฯ ระบบเฝ้าระวังพื้นฐาน และการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์บูรณาการ สธ 5 กลุ่มวัย/ ระบบบริการ/ ระบบควบคุมโรค/สิ่งแวดล้อม Better Service / ASEAN /โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ ลบ. (53.18%) การจัดสรรงบประมาณ (3R) โรคและภัยตามจุดเน้น ลบ (46.81%) งานตาม function กรมฯ ระบบเฝ้าระวัง/R&D/HRD&HRM *หมายเหตุ : ค่ายาและขั้นต่ำ ลบ * ข้อมูล ณ 18 ก.ย. 57

10 สัญญานการกลับมาของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ในประเทศไทย
เช่น โรคคอตีบ โรคหัด หัด 2556 คอตีบ ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนภาคใต้ กลุ่มเสี่ยงที่โรคจะระบาด โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%) อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) อัตราป่วยต่อเด็กเกิดมีชีพแสนคน ที่มา: สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 10

11 โครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ สำรวจการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยงและเร่งรัด เพิ่มความครอบคลุม ในกลุ่มที่มีปัญหา รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน โรคคอตีบในผู้ใหญ่ อายุ ปี ทั่วประเทศ รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี

12 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ป้องกันได้
ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 5 ระบบ => CD NCD Env. Occ. Injury HIV/AIDS 5 มิติ => อัตราป่วย/ตาย พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ผิดปกติ และมาตรการสำคัญ ครอบคลุมถึง ASEAN Migrants ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ

13 ลดอัตราป่วย/ตาย ไข้เลือดออก
การป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น detect response prevent ลดเหตุการณ์ระบาด โรคมือ เท้า ปาก อาหารเป็นพิษ ลดอัตราป่วย/ตาย ไข้เลือดออก

14 พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง
ระดับประเทศ/เขต ยุทธศาสตร์กลุ่มวัยทำงาน M & E ปี 2558 พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง BRFSS / IS ผลลัพธ์ทางสุขภาพ (ลดป่วย ลดตาย) รายงานผู้ป่วย และมรณบัตร คณะผู้ประเมินภายนอก (External Audit) ติดตามผลลัพธ์ การดำเนินงาน - NCD เหล้า บุหรี่ อุบัติเหตุ En-occ ระดับเขตสุขภาพ คณะทำงาน M&E (12เขต) (Internal Audit) SIIIM การประเมินแบบมีส่วนร่วม ระดับจังหวัด ตำบลจัดการสุขภาพ คลินิก NCD คุณภาพ กรม สบส. ประเมิน 5 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก และดีเยี่ยม กรมควบคุมโรค -สถานบริการสธ. ประเมินตนเอง -สคร. + จังหวัด ประเมินรับรอง หมอหญิงเสนอให้เพิ่มข้อมูลในสไลด์ ตามตาราง 3 ช่อง ดังนี้ ผลลัพธ์ทางสุขภาพ จะดูจากรายงานผู้ป่วย และมรณบัตร พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง โดยการสำรวจ BRFSS / IS ระดับเขต ปัจจัยความสำเร็จ จากการ M&E ระดับจังหวัดและระดับเขต

15 การป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร
สถานการณ์ Gap มาตรการที่สำคัญ 1. คนไทยใช้สารกำจัดศัตรูพืช เฉลี่ยคนละ 2.6 กก. ต่อปี และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ขาดการทำงานร่วมกันในการแก้ไขปัญหาการใช้สารกำจัดศัตรูพืชในทุกระดับ สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีแก้ไขปัญหาสารกำจัดศัตรูพืช 2. เกษตรกรมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมการใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ไม่ปลอดภัย เกษตรกรขาดความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้ง การปฏิบัติในการใช้ สารกำจัดศัตรู สร้าง อสม เชี่ยวชาญด้านอาชีวอนามัย (สารกำจัดศัตรูพืช) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. การคัดกรองความเสี่ยงสารกำจัดศัตรูพืชระดับ ไม่ปลอดภัยในเกษตรกรมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ปี 40 = ร้อยละ15.9 ปี 56 = ร้อยละ 30.3 การตรวจคัดกรองความเสี่ยงยังไม่ครอบคลุม และเกษตรกรยังไม่ได้รับการดูแลที่มีมาตรฐาน จัดบริการคลินิกสุขภาพเกษตรกรใน รพสต.

16 กรอบแนวคิดหลักแผนงาน เพื่อยุติปัญหาเอดส์
การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง การตายจากเอดส์ลดลง การเลือกปฎิบัติลดลง 66% ของผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่ อยู่ใน 33 จังหวัด

17 ผลลัพธ์ ตามมาตรการสำคัญ
วัณโรค สถานการณ์ GAP ภาพรวม ผลลัพธ์ ตามมาตรการสำคัญ จำนวนผู้ป่วยสูงเป็น 1 ใน Top 22 ของโลก อัตราตายระหว่างรักษา 7% (ทุก 15 คน มีเสียชีวิต 1 คน) และในกลุ่ม TB/HIV อัตราตาย 13-14% (ทุก 7 คน มีเสียชีวิต 1 คน) คาดประมาณป่วยวัณโรค 80,000 รายต่อปี ขึ้นทะเบียนรักษา 60,000 รายต่อปี AEC เพิ่มโอกาสการระบาดของวัณโรคสูงขึ้น ผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบและรักษาในปี 2558 เพิ่มขึ้นเทียบกับปี 2557 (ร้อยละ 3) พัฒนาห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค สคร. ด้านการเพาะเชื้อและทดสอบความไวต่อยาและการทดสอบทางอณูชีวโมเลกุล (12 แห่ง) โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค (H-QTBC)” (ร้อยละ 75) ตาย น้อยกว่า5ขาดยาเป็น0 ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาคุณภาพ “ระบบบริการดูแลรักษาวัณโรค” พัฒนามาตรฐาน “ห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค” ค้นหาเชิงรุก “กลุ่มเสี่ยเป้าหมาย” LA

18 พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน
หลักการและแนวคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง ความร่วมมือจากภาคี ระบบงานระบาดวิทยา มีแผน&ผลงานควบคุมโรคที่เป็นปัญหา การระดมทรัพยากรมาดำเนินการ คุณลักษณะที่สะท้อนความเข้มแข็งและยั่งยืน จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรคและภัยสุขภาพ บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการปกป้องจาก โรคและภัยสุขภาพ

19 HIV vaccine development
Vaccine security Procurement Development Current vaccines in EPI program and vaccines for control the outbreak New vaccines/routine vaccines in the development pipeline Ensure adequate vaccine supply to the immunization service unit Effective vaccine management among stakeholders Ensure quality in all the tract of vaccine management WG M&E sys Stockpiling Study and select/prioritize some vaccines that is feasible to be domestically produced. Promote vaccine R&D and production Strengthen NRA HIV vaccine development Long term

20 HRP/HRD

21 กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม
การสร้าง ธรรมาภิบาล กรมควบคุมโรค การจัดซื้อจัดจ้าง ศูนย์ราคากลาง online ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน เครือข่ายพัสดุ การบริหารงานบุคคล หลักเกณฑ์การแต่งตั้งโยกย้ายที่ โปร่งใส เป็นธรรม ระบบประเมินผู้บริหาร การพัฒนาจริยธรรม ให้ทุกหน่วยงานในสังกัดจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมหลักของกรมควบคุมโรค และ 12 ค่านิยมหลักของคนไทย กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม ศูนย์พัฒนากฏหมาย

22 ผลงานที่คาดหวัง ในระยะ 3 เดือน
ให้วัคซีน dT ปิด gap ภาคอิสาน EOC ตอบสนองต่อการระบาดของ Ebola, MERS-CoV Increase access to ARV treatment (any CD4) รายงานการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการบริโภคยาสูบ พ.ศ. .... แผนการลงทุนของกรมควบคุมโรค

23 ผลงานที่คาดหวัง ในระยะ 1 ปี
พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ..... ระบบเฝ้าระวังโรคที่สำคัญ 5 ระบบ 5 มิติ EOC for CD, Env. Occ Bridge the gap dT & MR ทั่วประเทศตามเป้าหมาย เกษตรกรเสี่ยงต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืชไม่เกินร้อยละ 30

24 สิ่งที่ต้องการสนับสนุนเพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรค
แผนการลงทุนเพื่อยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านการควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรค การยุติปัญหาเอดส์ การจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างเป็นระบบ ความมั่นคงด้านวัคซีน

25 ขอบคุณครับ

26 อภิปราย แลกเปลี่ยน และให้ข้อเสนอแนะ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google