งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 การบริหารและการวางแผนการผลิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 การบริหารและการวางแผนการผลิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 การบริหารและการวางแผนการผลิต
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2 ความหมายของการผลิตและการปฏิบัติการ
“การปฏิบัติการ” หมายถึง การทำงานตามหน้าที่ สำหรับการดำเนินธุรกิจแล้ว ต้องเป็นหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบในการผลิตสินค้าหรือบริการ นำไปเสนอขายต่อตลาดเป้าหมาย การผลิตสินค้าหรือบริการทำให้การปฏิบัติการในทุกองค์การเป็นระบบที่มีลักษณะเฉพาะร่วมกันอยู่ คือ ต้องแปรรูป สิ่งป้อนเข้า กลายเป็นสิ่งออกนำไปเสนอขายต่อตลาดเป้าหมาย การผลิต (Production) เป็นการสร้างสินค้า มีความหมายเน้นเฉพาะการผลิตสินค้าที่มีตัวตนไม่ใช่การบริการ การปฏิบัติการ (Operations) เป็นกระบวนการภายในองค์การที่เกิดขึ้น โดยใช้ปัจจัยนำเข้า (Input) เช่น คน เงินทุน วัตถุดิบ ฯลฯ แปลงสภาพเป็น ปัจจัยนำออก (Output) ในรูปของการผลิตและการบริการ

3 ความแตกต่างของสินค้าและการบริการ

4 ลักษณะของสินค้า (Goods)(ผลิตภัณฑ์ที่มีตัวตน)
1. สินค้าสามารถนำมาขายซ้ำได้ 2. สินค้าสามารถผลิตแล้วเก็บเป็นสินค้าคงคลังได้ 3. สินค้าสามารถวัดลักษณะคุณภาพบางอย่างได้ 4. สินค้าจะต้องมีการผลิตไว้เพื่อการขาย 5. สินค้าสามารถขนส่งได้ 6. สินค้าจะต้องมีสถานที่ผลิตซึ่งมีความสำคัญต่อต้นทุน 7. สินค้าง่ายต่อการผลิตแบบอัตโนมัติ 8. สินค้าจะมีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ที่มีตัวตน

5 ลักษณะของบริการ (Service)(ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตัวตน)
1. การบริการแต่ละครั้งยากที่จะแก้ไขเมื่อผิดพลาด 2. การบริการไม่สามารถผลิตเก็บไว้ในคลังสินค้าได้ 3. การบริการจะวัดด้านคุณภาพได้ยาก 4. การบริการจะมีการขายเป็นส่วนหนึ่งด้วย 5. การบริการเป็นเรื่องการจัดหาไม่มีตัวสินค้า จึงไม่มีการขนส่ง 6. การบริการเป็นการให้ความสะดวกแก่ลูกค้าและอาจไม่ต้องใช้สถานที่7. การบริการเป็นสิ่งที่ยากที่จะทำแบบอัตโนมัติ 8. การบริการมีรายได้ที่เกิดจากสิ่งที่ไม่มีตัวตน

6 ระบบการผลิต ระบบการผลิต คือ กระบวนการในการผลิตสิ่งของชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยมีการใช้ปัจจัยการผลิต ผ่านกระบวนการผลิต เพื่อเป็นสินค้าที่จะออกสู่ตลาด ปัจจัย การผลิต กระบวนการผลิต ผลผลิต

7 ระบบการผลิต ปัจจัยการผลิต หมายถึง สิ่งที่นำเข้าสู่ระบบการผลิตประกอบไปด้วยวัตถุดิบ เช่นที่ดิน อาคาร เครื่องจักร พนักงาน เงินทุนหมุนเวียน การจัดการ กระบวนการผลิต หมายถึง ส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำปัจจัยการผลิตมาแปรสภาพให้เป็นสินค้า หรือบริการตามที่ต้องการ วิธีการในการผลิตสินค้า การจัดลำดับการผลิต การวางแผนการผลิต และการจัดสรรกำลังคนเพื่อการผลิต ผลผลิต หมายถึง สินค้าและบริการที่เกิดจากการแปลงสภาพพร้อมที่จะนำเสนอขายให้กับลูกค้าหรือผู้บริโภค

8 ระบบการผลิต แบ่งเป็นสองระบบใหญ่ มีลักษณะดังนี้
ระบบการผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous Production) เป็นระบบการผลิตที่รวมเอาเครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตมาเรียงไว้ตามลำดับก่อนหลังต้องทำงานร่วมกันเรียกว่า สถานีงาน สถานีงานหลาย ๆ สถานีงานเมื่อเรียงเป็นลำดับเข้าไว้ทั้งหมดแล้วเรียกว่า สายการผลิต สถานีงานสุดท้ายของสายการผลิตจะเป็นจุดที่วัตถุดิบกลายสภาพเป็นสินค้าสำเร็จรูปออกมาในคลังสินค้ารอไว้จำหน่าย

9 ระบบการผลิตตามสั่ง (Intermittent Production)
ระบบการผลิตที่รวบรวมเอาอุปกรณ์การผลิตหรือสถานีงานที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกันเข้าไว้ด้วยกันเรียกว่า ศูนย์การทำงาน (work center) แต่ไม่มีการเรียงลำดับก่อนหลังของศูนย์การทำงานไว้คงที่

10 ระบบการผลิต สิ่งส่งออกOutput การควบคุม ข้อมูลป้อนกลับ Feedback
สิ่งป้อนเข้า Input ปัจจัยการผลิต การแปรรูปProcess กระบวนการผลิต สิ่งส่งออกOutput ผลผลิต การควบคุม ข้อมูลป้อนกลับ Feedback

11 ประเภทการผลิต แบ่งเป็นสามประเภท มีลักษณะดังนี้
ประเภทการผลิตตามสั่ง (Order) ผลิตตามใบสั่ง (production to order) เป็นการผลิตตามคำสั่งซื้อของลูกค้า ระบบการผลิตที่รวบรวมเอาอุปกรณ์การผลิตหรือสถานีงานที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกันเข้าไว้ด้วยกันเรียกว่า ศูนย์การทำงาน (work center) แต่ไม่มีการเรียงลำดับก่อนหลังของศูนย์การทำงานไว้คงที่ ผลิตเพื่อเก็บในคลังสินค้า(production to stock) เป็นจุดที่วัตถุดิบกลายสภาพเป็นสินค้าสำเร็จรูปออกมาในคลังสินค้ารอไว้จำหน่าย

12 ประเภทการผลิตตามปริมาณการผลิต
การผลิตแบบโครงการ (project) เป็นการผลิตสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะเป็นรายๆไป เช่น รับเหมาก่อสร้างบ้าน สร้างถนน การผลิตแบบครั้งคราว(job shop) เป็นการผลิตสินค้าจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับปริมาณการผลิตทั้งหมด การผลิตแบบงานช่วง(intermittent ) เป็นการผลิตสินค้าแบบงานช่วงการผลิตทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นงานย่อยๆจะถูกทำให้เสร็จสิ้นทั้งหมดก่อนส่งต่องานย่อยถัดไปเป็นจุดที่วัตถุดิบกลายสภาพเป็นสินค้าสำเร็จรูปออกมาในคลังสินค้ารอไว้จำหน่าย การผลิตแบบต่อเนื่อง() เป็นการผลิตสินค้าครั้งละจำนวนมากๆไหลเวียนของวัตถุดิบและการผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมีลักษณะไม่ขาดตอนเแบบต่อเนื่อง

13 ประเภทการผลิตตามลักษณะผลิตภัณฑ์
การผลิตแบบประกอบ (discrete-part production) เป็นการผลิตสินค้าโดยนำชิ้นส่วนต่างๆมาประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ผลิตรถยนต์ การผลิตแบบกระบวนการ (process production) เป็นลักษณะการผลิตสินค้าที่เมื่อผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปแล้ว ไม่สามารถแบ่งแยกสินค้าหรือถอดประกอบออกมาเป็นชิ้นส่วนเหมือนเก่าได้อีก เช่น ผลิตน้ำตาลทราย

14 ความหมายและความสำคัญของการวางแผนกำลังการผลิต
กำลังการผลิต หมายถึง ความสามารถสูงที่สุดของเครื่องจักร ปัจจัยการผลิต และ สิ่งอำนวยความสะดวกที่สามารถผลิตสินค้าหรือบริการได้มากที่สุดในช่วงเวลาที่กำหนดภายใต้ สภาวะปกติ มีหน่วยวัดปริมาณผลิต่อเวลาเป็นเวลา เช่น ชิ้นต่อสัปดาห์ ตันต่อเดือน ตันต่อปี เป็นต้น การประมาณความต้องการกำลังการผลิตอาจประเมินได้ใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1 ความต้องการในระยะสั้น ผู้บริหารสามารถประมาณการความต้องการกำลังการผลิตเพื่อตอบสนองการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของความต้องการสินค้าในระยะสั้นระยะเวลาของแผน 1- 3 เดือน ซึ่งจากปริมาณความต้องการของสินค้าและบริการที่พยากรณ์ได้ ผู้บริหารสามารถกำหนดได้ว่ากำลังการผลิตที่จำเป็นจะต้องเป็นเท่าใด จึงจะสามารถตอบสนองความต้องการได้ ลักษณะที่ 2 ความต้องการระยะปานกลาง การวางแผนกำลังการผลิต 6-18 เดือนข้างหน้า โดยผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการตอบสนองความต้องการในช่วงเวลา 1 ปี เรียกว่า การวางแผนกำลังการผลิตรวม (aggregate planning) ลักษณะที่ 3 ความต้องการระยะยาว การวางแผนเพื่อให้รู้ถึงกำลังการผลิตที่จะเป็นจะต้องมีในระยะยาวเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก และมีปัจจัยในด้านความไม่แน่นอนของการตลาดของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้วย การวางแผนกำลังการผลิตว่าในอีก 3 หรือ 10 ปีข้างหน้า จะผลิตสินค้าปริมาณเท่าใด ซึ่งเป็นเรื่องที่เสี่ยงมาก ทั้งนี้เพราะอีก 3 ปีข้างหน้า สินค้าอยู่ในวันนี้อาจล้าสมัยไปแล้ว ปริมาณความต้องการของสินค้าจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และมีความสัมพันธ์ที่เรียกว่า วัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (product life cycle)

15 ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย(บาท)
การวางแผนการผลิต 70 60 50 40 1000 2000 4000 6000 จำนวนหน่วยที่ผลิต ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย(บาท)

16 แผนภูมิ Gantt Chart เทคนิคการกำหนดเวลาทำงาน
เป็นการกำหนดตารางเวลาการทำงานในแต่ละกิจกรรมใช้เวลาการทำงานเท่าใด เริ่มเมื่อใดต้องเสร็จสิ้นเมื่อไร ที่นิยมใช้มี 2 วิธี แผนภูมิ Gantt Chart แผนภูมิ Gantt Chart เป็นแผนภูมิชนิดหนึ่งที่มีการใช้งานมาช้านาน เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนและกำหนดเวลาในการทำงานของโครงการ ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อนไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานได้อย่างชัดเจน และไม่สามารถบอกได้ว่างานที่ปฏิบัติการล่าช้าจะมีผลต่อโครงการด้วย

17 รูปที่ 5.1 ตารางการดำเนินงาน
งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์) A B C B 3 D A C 4 E D 8 F C 2 G F 4 H F 2 I B 5 J E G H 3

18 รูป 5.2 แผนภูมิแบบแกนต์Gantt chart
ABCDEFGHI J งานที่ดำเนินการเสร็จแล้ว งานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เวลา(สัปดาห์)

19 เพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม(CPM)
การบริหารโครงการด้วยการวางแผน ควบคุมโดยใช้เทคนิค เพิร์ตPERT (Program Evaluation and Review Technique) และซีพีเอ็ม CPM(Critical Path Method)เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่มักนำมาใช้ในการบริหารโครงการ ที่มีจุดเริ่มต้นของโครงการจนถึงปิดโครงการ มีส่วนงานย่อยต่างๆ ที่มีการกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หลักการของ PERT และ CPM หลักการของเพิร์ตPERT และซีพีเอ็ม CPM จะมี พื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน เพิร์ตPERT จะเน้นด้านเวลาในการดำเนินโครงการ ซีพีเอ็ม CPM จะเน้นด้านค่าใช้จ่ายของโครงการ ปัจจุบันได้มีการนำมาใช้งานร่วมกัน โดยใช้คำว่า เพิร์ตPERT เพียงคำเดียว อาจหมายถึงการนำเทคนิค ของ CPM มาใช้ร่วมด้วย

20 เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
ดังนั้นโครงการขนาดใหญ่ที่มีระบบงานที่กระจายเป็นระบบย่อย ๆ และมีจำนวนมาก มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ซับซ้อน จึงมักนำเทคนิคของเพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม(CPM)มาประยุกต์การใช้งานมากกว่า สรุป PERT เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ CPM เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ

21 ตัวอย่าง PERT แบบที่ 4 ที่แสดงระยะเวลาของแต่ละงาน
สายงานที่ 1 =2+3+3=8 สายงานที่ 2 1-4-7 = 1+3=4 สายงานที่ 3 = =5 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์) A B C D A E B F C G D H F D,3 3 G,3 2 A,2 E,3 B,1 7 1 4 H,2 F,2 C,1 5 6

22 เร่งกิจกรรม B H D F และA C,9 2 4 G,13 A,6 D,9 8 1 5 H,12 E,8 B,6 3 6 I,14 F,8 7 สายงานที่ =6+9+13= สายงานที่ = =27 สายงานที่ = =26 สายงานที่ = =28

23 รายละเอียดค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งโครงการเป็น 28 วัน
หลังจากที่ได้ทำการลดกิจกรรม A B D F และ H จึงทำให้โครงการเสร็จภายใน 28 วัน ตามแผนที่ได้กำหนดไว้ โดยจะได้สายงานวิกฤตอยู่ 2 สาย และมีจำนวนวันยาวนานที่สุดคือ 28 วัน และค่าใช้จ่ายต้องเพิ่มจากการเร่งงาน ดังตาราง รายละเอียดค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งโครงการเป็น 28 วัน กิจกรรมที่เร่ง จำนวนวัน ค่าใช่จ่ายต่อวัน รวม(บาท) A B D F H รวมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งโครงการ 850

24 แนวคิดและเทคนิคการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ
การบริหารคุณภาพเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดการทุกเรื่องในองค์การให้ได้ตาม นโยบายคุณภาพที่กำหนดไว้โดย เริ่มจากกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์และนโยบายที่ชัดเจน มีการวางแผนจัดเตรียมทรัพยากร และกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับการสร้างคุณภาพตลอดจนตัวชี้วัดคุณภาพที่สอดคล้องกับความความต้องการของลูกค้าที่ชัดเจน ต้องมีการวางแผนปฏิบัติการ จัดเตรียมทีมงานฝึกอบรมบุคลากร กำหนดวิธีการกระบวนงาน ขั้นตอนการทำงาน งบประมาณ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อนำมาใช้เป็นปัจจัยในการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนด ต้องกำหนดเทคนิคหรือกิจกรรมที่จะนำมาใช้เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต หรือบริการที่มีคุณภาพตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ หลังจากประกาศนโยบายคุณภาพแล้ว ฝ่ายบริหารจะต้องนำนโยบายออกเผยแพร่ให้ทุกคนทุกระดับได้รับทราบและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความจำเป็นที่องค์การต้องมีการปรับตัวหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อก้าวเข้าสู่ระบบการบริหารคุณภาพ จากก้าวแรกของการนำองค์การสู่ระบบการบริหารคุณภาพ สิ่งสำคัญผู้บริหารต้อง ตัดสินใจเลือกเทคนิคหรือระบบการบริหารคุณภาพแบบใดมาใช้เป็น แนวทางในการปฏิรูปพัฒนาแก้ไขดำเนินงานในองค์การให้มีคุณภาพขึ้นอยู่กับความพร้อมหรือศักยภาพขององค์การ

25 การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร การจัดการคุณภาพโดยรวม
Total Quality Management Total ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการบริหารระบบคุณภาพ Quality การสร้างความพึงพอใจของลูกค้า โดยใช้แนวความคิดเชิงระบบของการจัดการ Management ระบบการบริหารจัดการคุณภาพ

26 โครงสร้างพื้นฐานของ TQM
การเน้นที่ลูกค้า Customer Focus ความคิดเน้นที่คุณภาพ Obsession with Quality หลักความจริงและมีเหตุมีผล Scientific Approach คำมั่นสัญญาระยะยาว Long-Term Commitment การทำงานเป็นกลุ่ม Teamwork

27 โครงสร้างพื้นฐานของ TQM
ระบบการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง Continual Improvement of System การศึกษาและการฝึกอบรม Education and Training จุดมุ่งหมายที่เป็นเอกภาพ Unity of Purpose พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมและอำนาจในการทำงาน Employs Involvement and Empowerment

28 จบบทที่ 5 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 การบริหารและการวางแผนการผลิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google