งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
การดูแลสุขภาพช่องปาก กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ รศ. ดร. พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ ภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 Oral Health Related Quality of Life
“ฟันนั้นเป็นของสำคัญมาก ถ้าใครเจ็บฟันไม่ได้รักษา จะทำให้ได้รับความลำบากถึงกับกินไม่ได้ เคี้ยวไม่ออก” พระราชดำรัสสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 30 ธันวาคม 2530 ณ ท่าโป่งแดง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

3 วิถีการทำงานในวัยสูงอายุ
วิถีชีวิตผู้สูงอายุ วิถีการทำงานในวัยสูงอายุ เกษียณจากการทำงาน ไม่ต้องทำงาน อยู่บ้านเฝ้าบ้านให้ลูก ดูแลเลี้ยงหลาน การทำงานในรูปแบบใหม่ ใช้เวลาทำงานลดลงหรือลดปริมาณงาน การทำงานอาสาสมัคร จำเป็นต้องทำงานเพื่อเลี้ยงชีพ การทำงานเพื่อหารายได้ส่วนตัวช่วยทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกภาคภูมิใจ ที่สามารถพึ่งตนเองได้ ไม่ต้องเป็นภาระต่อลูกหลาน

4 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุในชนบทอาจยังทำงานในเรือกสวนไร่นาอยู่ทำให้มีสุขภาพแข็งแรง ปัจจุบันปัญหาสังคมและเศรษฐกิจได้คุกคามผู้สูงอายุมากขึ้น ทำให้เกิดความเครียดส่งผลต่อสุขภาพจิต และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ เพิ่มขึ้น ให้ความสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น

5 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุในชนบทอาจยังทำงานในเรือกสวนไร่นาอยู่ทำให้มีสุขภาพแข็งแรง ให้ความสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น

6 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ ให้ความสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น

7 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ ให้ความสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น

8 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การบริโภคอาหาร รูปแบบของอาหารเปลี่ยนไป
อาหารพื้นบ้าน vs อาหารที่สะดวกต่อการซื้อหา การบริโภคผัก ผลไม้ที่ลดลง การเพิ่มการบริโภคอาหารแบบตะวันตก ที่มีพวกแป้งและน้ำตาลมากขึ้น

9 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การบริโภคอาหาร ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพา
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การต้องกินอาหารคนเดียว การไม่มีรายได้ส่วนตัวเพื่อเลือกซื้ออาหารที่ชอบ

10 ความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
วิถีชีวิตผู้สูงอายุ ความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน พวกทันสมัย มีการเข้าสังคมเป็นประจำ สนใจข่าวสารบ้านเมือง ใช้เครื่องอำนวยความสะดวกใหม่ๆได้ ชอบท่องเที่ยว เข้าใจเด็กยุคใหม่ เข้าใจ เทคโนโลยีใหม่ๆ แต่งตัวตามสมัย

11 ความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
วิถีชีวิตผู้สูงอายุ ความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน พวกทันสมัย มีการเข้าสังคมเป็นประจำ สนใจข่าวสารบ้านเมือง ใช้เครื่องอำนวยความสะดวกใหม่ๆได้ ชอบท่องเที่ยว เข้าใจเด็กยุคใหม่ เข้าใจ เทคโนโลยีใหม่ๆ แต่งตัวตามสมัย

12 ความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
วิถีชีวิตผู้สูงอายุ ความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ไม่ทันสมัย ไม่แต่งตัว ไม่ชอบเดินทาง ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ทำอะไรช้า ไม่ทันคนรุ่นใหม่ ชอบเข้าวัด ทำบุญ

13 การติดตามข้อมูลข่าวสาร
วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การติดตามข้อมูลข่าวสาร สื่อโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์

14 วิถีชีวิตผู้สูงอายุ การทำจิตใจให้ผ่องใส สงบและเป็นสุข

15 ข้อมูลประชากรศาสตร์ กลุ่มที่หนึ่ง ‘กลุ่มปลอดภัย’
ประชากรสูงอายุ จำแนกตามความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ในชุมชน กลุ่มที่หนึ่ง ‘กลุ่มปลอดภัย’ เป็นกลุ่มที่สามรถอยู่ได้ในชุมชนอย่างมีคุณภาพ ไม่ว่าจะต้องพึ่งพาผู้อื่นหรือไม่ก็ตาม สำหรับผู้ที่ทุพพลภาพหรือต้องพึ่งพาจะมีครอบครัว และชุมชนคอยดูแล จึงไม่จำเป็นต้องย้ายเข้าสู่สถานบริการ

16 ข้อมูลประชากรศาสตร์ กลุ่มที่สอง ‘กลุ่มพ่ายแพ้’
ประชากรสูงอายุ จำแนกตามความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ในชุมชน กลุ่มที่สอง ‘กลุ่มพ่ายแพ้’ เป็นกลุ่มที่ไม่สามารถอยู่ในชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ ไม่ว่าจะมีเหตุด้านสังคมหรือสุขภาพ ได้แก่การขาดแคลนผู้ดูแล การที่ครอบครัวหรือชุมชนไม่สามารถรับภาระหรือ การที่มีสถานะทางสุขภาพที่แย่เกินกว่าผู้ดูแลจะจัดการได้ ผู้สูงอายุกล่มนี้จะได้รับคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า หากได้เข้ารับการสงเคราะห์หรือดูแลโดยสถานบริการ

17 ข้อมูลประชากรศาสตร์ ‘กลุ่มเสี่ยง’
ประชากรสูงอายุ จำแนกตามความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ในชุมชน ‘กลุ่มเสี่ยง’ เป็นผู้สูงอายุในกลุ่มปลอดภัยจำนวนหนึ่งที่มี โอกาสเสี่ยงที่จะกลายเป็นกลุ่มพ่ายแพ้ในอนาคต ลักษณะเสี่ยง เพศหญิง อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อาศัยอยู่คนเดียว ไร้ญาติขาดมิตร ฐานะยากไร้ มีปัญหาทางสุขภาพมาก มีภาวะทุพพลภาพ

18 คำอธิษฐานที่เปลี่ยนไป
ขอให้อายุยืน ขออย่าให้อายุยืนนักเลย …เพราะอะไร..... กลัวร่างกายอ่อนแอลง แล้วไม่มีใครดูแล เอาเท่าที่เดินเหินช่วยตัวเองไหว อย่าให้อยู่นานจนลูกหลานแช่งเลย เป็นภาระเขา ขออายุเท่าไรดี

19 คำอธิษฐานที่เปลี่ยนไป
ขอให้ร่ำให้รวย นั่นเป็นเหตุแห่งทุกข์ มีสมบัติมาก ลูกหลานแย่งชิงกัน ทะเลาะวิวาทบาดหมาง ไม่มีความสุขเลย ให้ไม่เท่ากัน พอเราตาย ก็ไม่มาเผา

20 Quality of life in later years
Oral Health Related Quality of Life Quality of life in later years ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ระบบบริการสุขภาพที่ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงได้ เข้าถึงด้านสถานที่ เข้าถึงด้านการเงิน

21 Quality of life in later years
Oral Health Related Quality of Life Quality of life in later years ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี มีระบบดูแลผู้สูงอายุที่ส่งเสริมการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี มีหลักประกันว่าผู้สูงอายุทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี นโยบายสุขภาพช่องปาก

22 Quality of life in later years
Oral Health Related Quality of Life Quality of life in later years ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี มีสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและด้านสังคมที่ส่งเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดี

23 Quality of life in later years
Oral Health Related Quality of Life Quality of life in later years ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี promoting oral health throughout life promoting health and fitness throughout life Decrease the prevalence of disability Decrease chronic illness

24 A whole system approach
Oral Health Related Quality of Life A whole system approach Old and alone: barriers to healthy eating in older men living on their own Huges et al, Apetite, 43, 2004 Living and eating alone further diminishes food consumption and dietary quality men with good cooking skills reported better physical health and higher intake of vegetables.

25 บทบาทของสุขภาพช่องปากที่มีต่อสุขภาพ
สุขภาพกาย สามารถกินได้ กินดี เคี้ยวได้ ไม่มีฟันหรือมีการสูญเสียฟัน มีฟัน ฟันไม่สึก เสียวฟัน บูรณะสภาพ ฟื้นฟู

26 ความสัมพันธ์ของสุขภาพช่องปากกับคุณภาพชีวิต
สุขภาพช่องปากมีผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพกาย ช่องปากเป็นส่วนนำเข้าของอาหาร หากช่องปากทำหน้าที่ได้ไม่ปกติไม่สมบูรณ์ ย่อมส่งผลกระทบถึงปัจจัยสี่ คือการได้รับอาหารด้วย ในการเคี้ยว การกัดอาหาร ต้องใช้อวัยวะที่สำคัญคือฟัน ฟันที่ดีที่สุดย่อมเป็นฟันธรรมชาติ ฟันธรรมชาติควรแข็งแรง สภาพดี ไม่ปวด ไม่โยก ไม่บวม จึงจะสามารถใช้เคี้ยว ใช้กัดได้ตามปกติ การสูญเสียฟันธรรมชาติ มีผลต่อการเคี้ยว การเลือกชนิดของอาหารซึ่งส่งผลถึงระดับโภชนาการ

27 ความสัมพันธ์ของสุขภาพช่องปากกับคุณภาพชีวิต
สุขภาพช่องปากมีผลต่อสุขภาพกาย ฟันยังช่วยให้พูดได้ชัด ทำให้การออกเสียงเป็นปกติ หากพูดไม่ชัด การสื่อสารย่อมติดขัด ก่อให้เกิดความหงุดหงิด ขาดความมั่นใจ คนที่มีฟันธรรมชาติเพียงพอสามารถหัวเราะได้อย่างมั่นใจ ไม่กลัวฟันหลุดร่วง ในส่วนของสุขภาพ ฟันที่มีผลต่อสุขภาพกายจึงพบได้ ตั้งแต่ในเรื่องการเคี้ยว การกัด การกลืน การพูด การยิ้ม การหัวเราะ ซึ่งเป็นเรื่องของการทำงานด้านกายภาพของช่องปาก

28 บทบาทของสุขภาพช่องปากที่มีต่อสุขภาพ
สุขภาพจิต มีความสุข มีอารมณ์แจ่มใสเบิกบาน ไม่เป็นโรค ไม่เจ็บปวดในปาก มีภาพลักษณ์ที่ชวนมอง ดูแลให้ฟันอยู่ในสภาพปกติ

29 ความสัมพันธ์ของสุขภาพช่องปากกับคุณภาพชีวิต
ผลของสุขภาพช่องปากต่อสุขภาพจิต ในด้านของสุขภาพช่องปาก การสูญเสียฟันธรรมชาติมีผลต่อภาพลักษณ์ ความมั่นใจ ความสวยงาม ความเจ็บปวดหรือความไม่สบายเนื่องจากฟัน เช่นปวดฟัน เสียวฟัน จากฟันที่ผุ ฟันที่โยก ฟันที่สึก มีผลต่อการพักผ่อน การนอนหลับ และมีผลต่อการทำงานหรือทำกิจกรรมต่างๆ

30 บทบาทของสุขภาพช่องปากที่มีต่อสุขภาพ
สุขภาพสังคม มีความมั่นใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีความภูมิใจในตนเอง มีฟัน ฟันสวย ไม่มีปัญหาจากการใช้งาน

31 ความสัมพันธ์ของสุขภาพช่องปากกับคุณภาพชีวิต
สุขภาพช่องปากมีผลต่อด้านสังคม เกิดความมั่นใจ ในการเข้าสังคม ส่งเสริมภาพลักษณ์

32 บทบาทของสุขภาพช่องปากที่มีต่อสุขภาพ
สุขภาพทางปัญญา มีความรู้เท่าทันโลกและเทคโนโลยี สามารถดูแลสุขภาพตนเอง เลือกกระบวนการดูแลและรักษาที่เหมาะสมได้

33 ผลของสุขภาพช่องปากต่อสุขภาพ ผลต่อภาวะโภชนาการ
คนไข้ที่กินไม่ได้ เพราะเหตุที่ไม่มีฟัน ส่งผลให้การรับสารอาหารทั้งยามปกติและยามเจ็บป่วยลดลง ส่งผลให้การรักษาโรคหรือการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย เป็นไปได้ช้า สามารถพยากรณ์ถึงสภาวะสุขภาพกายได้

34 ผลของสุขภาพช่องปากต่อสุขภาพ ผลต่อภาวะโภชนาการ
การเปลี่ยนแปลงในด้านอาหารการกิน ที่เป็นผลจากการสูญเสียฟัน ส่งผลต่อการเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรัง เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงสารอาหารที่ได้รับ

35 Socio-Dental Indicators Oral Health Related Quality of Life Measures
ดัชนีทันตสังคม Socio-Dental Indicators Oral Health Related Quality of Life Measures OHRQoL

36 1970s’ Appropriate outcome measures 1976 Louis Cohen and John Jaco
“Toward and formulation of Sociodental Indicators.” 1977 Mata Nikias “Measurement of Oral health Status” Appropriate outcome measures

37 Oral Health Related Quality of Life
At that era All existing measures “mobidity measures” None took into account any dimension of function Attributed by the general public

38 Oral Health Related Quality of Life
Conceptual models of disease and its consequences

39 Oral Health Related Quality of Life
แนวคิดในการพัฒนาตัวชี้วัดทางสุขภาพ WHO’s International Classification of Impairments, Disability and Handicaps

40 Oral Health Related Quality of Life
แนวคิดในการพัฒนาตัวชี้วัดทางสุขภาพ Impairment การสูญเสียทางกายภาพ เกิดความผิดปกติทางโครงสร้าง หรือทางจิตวิทยา อาจเป็นแต่กำเนิด หรือเป็นผลจากการเกิดโรคหรือการบาดเจ็บ ตัวอย่างเช่น การสูญเสียฟันทั้งปาก การสูญเสียเนื้อเยื่อปริทันต์ การสบฟันที่ผิดปกติ

41 Oral Health Related Quality of Life
Functional Limitation การทำงานของร่างกาย ระบบในร่างกาย หรืออวัยวะบางส่วนถูกจำกัด เช่น การมีปัญหาเกี่ยวกับการเคลื่อนของขากรรไกร

42 Oral Health Related Quality of Life
แนวคิดในการพัฒนาตัวชี้วัดทางสุขภาพ Disability ภาวะทุพพลภาพ คือ การที่ร่างกายไม่สามารถดำเนินไปได้ตามปกติ อาจเกิดจากการจำกัดการทำงานของอวัยวะบางอย่างทางกายภาพ หรือ รวมทั้งการมีข้อจำกัดทางจิตวิทยาและทางสังคมด้วย Disability สามารถจำแนกได้เป็น Physical disability, psychological disability และ social disability

43 Oral Health Related Quality of Life
Physical Disability เช่น ความสามารถในการเคี้ยวลดลง เนื่องจากการสูญเสียฟันทำให้ไม่สามารถกินอาหารแข็งๆได้ Psychological disability ความรู้สึกอับอายจากการสูญเสียฟัน หรือการเคี้ยวที่มีปัญหา Social disability การหลีกเลี่ยงการเข้าสังคม การหลีกเลี่ยงการกินอาหารร่วมกับผู้อื่น ซึ่งเป็นผลจากความสามารถในการเคี้ยวลดลง

44 Oral Health Related Quality of Life
แนวคิดในการพัฒนาตัวชี้วัดทางสุขภาพ Handicap การสูญเสียโอกาส ซึ่งเป็นผลมาจากการจำกัดการทำงานของร่างกาย ทำให้บุคคลนั้นๆ ไม่สามารถดำเนินชีวิต ได้เหมือนคนปกติทั่วไปในสังคม

45 Oral Health Related Quality of Life
Theoretical framework of consequences of oral impacts Oral Health Related Quality of Life (Modified from the WHO’s International Classification of Impairments, Disabilities and Handicaps) Level 1 Impairment Level 2 Intermediate impacts Dissatisfaction with appearance Functional limitation Pain Discomfort Impacts on daily performances Level 3 Ultimate impacts Physical Psychological Social

46 Oral Health Related Quality of Life
OHRQoL 1996 Adulyanon ‘The Oral Impact on Daily Performances, OIDP’ ตัวชี้วัดทันตสุขภาพเชิงสังคม (Sociodental indicator) The Oral Impact on Daily Performance (OIDP) ซึ่งคิดค้นและนำเสนอโดย ผศ.ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์

47 Oral Health Related Quality of Life
3 dimensions: Psychological sleeping and relaxing smiling, laughing and showing teeth without embarrassment maintaining usual emotional state without being irritable Physical eating and enjoying food speaking and pronouncing clearly cleaning teeth doing light physical activities Social enjoying contact with people

48

49

50 การก่อกระแสและ พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ
การสร้างความตระหนักถึงคุณค่าผู้สูงอายุ พัฒนาให้ผู้สูงอายุมีความตระหนักในศักยภาพของตนเอง และก่อกระแสให้คนในสังคมเห็นถึงคุณค่าที่ ผู้สูงอายุมีต่อครอบครัวและสังคม ทำความเข้าใจและรู้จักกับผู้สูงอายุอย่างถ่องแท้ การเข้าถึงกลุ่มผู้สูงอายุ การทำงานแบบภาคี

51 การสื่อสารกับผู้สูงอายุ
ความรู้สึกเอื้ออาทรและห่วงใยเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุด ในการสื่อสารกับผู้สูงอายุ การสื่อสารต้องพิจารณาถึง ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ อายุของผู้ฟัง พื้นฐานการศึกษา อาชีพ ชนชั้น เชื้อชาติ เพศ อายุมีผลต่อสุขภาพร่างกาย ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดความบกพร่องทางการได้ยินและการมองเห็น ในระดับใดระดับหนึ่งมากกว่ากลุ่มอายุอื่น โดยอายุที่สูงขึ้นอัตราชุกของความบกพร่องจะสูงขึ้น

52 การสื่อสารกับผู้สูงอายุ
การสื่อสารต้องพิจารณาถึง ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ได้แก่ สื่อ และโสตทัศนูปกรณ์ ปัจจัยด้านพฤติกรรมการสื่อสารได้แก่ ภาษาที่ใช้ กิริยาวาจาขณะสื่อสาร ความสนใจของผู้ฟัง ฯลฯ

53 การผลิตสื่อสำหรับผู้สูงอายุ
การวางแผนใช้สื่อในผู้สงอายุ ภาษาที่ใช้ในการนำเสนอ ภาษาที่แสดงคำสั่ง ภาษาที่เชิญชวนให้คิดหรือทำตาม ควรแปรงฟันวันละ 2 ครั้ง ฟันท่านจะแข็งแรงและอยู่กับท่านไปจนตลอดชีวิต หากท่านดูแลโดยการแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง สื่อเทคโนโลยี

54 คำถาม เรื่องใดบ้างที่ทันตบุคลากรอยากเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานในกลุ่มผู้สูงอายุ

55 การดูแลเพื่อคงสภาพช่องปากที่ดี
การรักษาฟันธรรมชาติไว้ตลอดชีวิตเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ การสูญเสียฟันไม่ใช่ผลจากการสูงอายุอีกต่อไป การดูแลรักษาที่ถูกวิธี สามารถรักษาฟันธรรมชาติได้ตลอดอายุขัย

56 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
การดูแลด้านสุขภาพช่องปาก ควบคู่ไปกับการดูแลสุขภาพร่างกาย จึงมีความจำเป็นในผู้สูงอายุ What is “scale of assessment”? Scale of assessment is a schedule of percentage that uses to calculate contribution from each of Member States to the WHO. During the WHA 54th session, Secretariat proposed a new scale of assessment for next biennium This proposed scale of assessment was based on the UN scale of assessment , with minor modification. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

57 ขอบคุณที่กรุณาฟัง และตอบแบบสอบถาม

58

59

60

61

62

63

64

65

66


ดาวน์โหลด ppt กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google