ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBenedetta Antonini ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Electronic Commerce อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ PHP เบื้องต้น
2
พื้นฐานของ Web Server Internet Text File Database Web Service
Dynamic Content HTML Static Content PHP JSP ASP ….. Application Server Apache IIS PWS Web Server (hardware) (soft ware) http request
3
ทำความรู้จักกับภาษา PHP
PHP เป็นภาษาในรูปแบบของ Script ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เหมาะสมสำหรับการพัฒนา www และสามารถที่แทรกรวมเข้ากับ HTML Document ได้ PHP ไม่เสีย ค่าใช้จ่าย PHP เขียนง่าย และเรียนรู้ง่าย โดยโครงสร้างภาษาคล้ายกับภาษา C PHP สามารถทำงานข้าม Platform ได้ ไม่ว่าจะเป็น UNIX , Windows PHP มีความเสถียรภาพ เช่น Server ไม่ต้อง Reboot บ่อยๆ โปรแกรมไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาก และใช้งานร่วมกันได้ ถ้าเปลี่ยน Version PHP สามารถทำงานได้เร็ว และทำงานร่วมกับโปรแกรม,โปรโตคอลอื่นๆ ได้ดี PHP มี function อื่นๆ เข้ามาช่วยในการทำงานมากมาย เช่น การจัดการเกี่ยวกับการแสดงผลวันที่ หรือการติดต่อกับฐานข้อมูล
4
ประวัติความเป็นมาของ PHP
PHP เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 ผู้พัฒนาเป็น คนแรก คือ นาย Rasmus Lerdorf PHP เป็นคำย่อมาจาก “Professional Home Page” ปัจจุบัน ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “PHP Hypertext Preprocessor” PHP เวอร์ชันแรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools เมื่อถึงกลางปี1995 ได้ออก เวอร์ชันที่สองชื่อว่า PHP/FI ปัจจุบัน PHP เป็นเวอร์ชัน 6
5
PHP คืออะไร PHP เป็นภาษาสคริปต์ สำหรับการเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง ซึ่งจะทำงานอยู่ทางฝั่ง Server เรียกว่า Server Side Script เช่นเดียวกันกับภาษา ASP, JSP การทำงานของภาษา PHP จะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML PHP สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Linux, Mac OS, และ Windows PHP มีความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูลได้หลายแบบ เช่น Adabas D, InterBase, Solid, DBase, mSQL, Sybase, Empress, MySQL, Velocis, FilePro, Oracle, Unix dbm, Informix PostgreSQL เป็นต้น
6
การทำงานของ PHP PHP ทำงานบน Server โดยทำงานร่วมกับเอกสาร Html
เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้นๆ ไปยัง Server จะเกิดทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เพื่อให้ได้ผลลัพท์ และประมวลผลออกเป็นไฟล์ Html สามารถแสดงผลออกทาง Web Browsers ของเครื่อง Client ได้ เราสามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามต้องการลงในเอกสาร Html โดยส่วนของคำสั่ง PHP จะอยู่ภายใต้ “PHP TAG” คำสั่งของภาษา PHP จะลงท้ายด้วยเครื่องหมาย ; ยกเว้นคำสั่งสุดท้าย อาจสามารถละเครื่องหมาย ; ได้ ไฟล์ของ PHP จะมีนามสกุล .php
7
การเตรียมการเพื่อเขียนภาษา PHP
เตรียมคอมพิวเตอร์ โดยปกติการพัฒนาโปรแกรมหรือระบบงานบนเว็บจะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำเป็น Web Server และ Web browser อย่างละเครื่อง แต่ถ้าหากมีงบประมาณจำกัด เราก็สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวก็ได้ โดยให้คอมพิวเตอร์เครื่องนี้ทำหน้าที่เป็นทั้ง Web Server และ Web browser ได้ ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows หรือ Unix หรือ Linux หรือ Mac OS ติดตั้งโปรแกรม Web Server ซึ่งสามารถเลือกใช้โปรแกรมไหนก็ได้ เช่น Apache, Internet Information Server (IIS), Personal Web Server (PWS), OmniHTTPd เป็นต้น ติดตั้ง PHP Engine หรือตัวแปลภาษา PHP ซึ่งเป็นโปรแกรมที่จะทำหน้าที่แปลภาษา PHP เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานและประมวลผลได้ตามที่ต้องการ
8
การเตรียมการเพื่อเขียนภาษา PHP
ติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล ซึ่งโปรแกรมภาษา PHP สามารถเลือกใช้ฐานข้อมูลได้หลายประเภท เช่น dBase, IMAP, MySql, MS Access, Oracle เป็นต้น ติดตั้งโปรแกรมช่วยจัดการฐานข้อมูล หากเลือกใช้ฐานข้อมูล MySql แนะนำว่าควรใช้ PhpMyAdmin ซึ่งเป็นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล MySql โดยเฉพาะ ติดตั้งโปรแกรม Web Authoring และ Editor คือโปรแกรมที่ใช้ในการช่วยสร้างเว็บเพจ เช่น Macromedia Dreamweaver, Microsoft Frontpage, Editplus หรือ Notepad เป็นต้น
9
การเตรียมการเพื่อเขียนภาษา PHP
ปัจจุบันมีโปรแกรมช่วยติดตั้งเป็นแพ็คเกจสำเร็จรูปให้ มีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ เช่น AppServ (หาได้จาก สิ่งที่มีมาให้ในโปรแกรม AppServ Web Server ชื่อ Apache ตัวแปลภาษา PHP ระบบฐานข้อมูล MySQL ระบบช่วยจัดการฐานข้อมูล phpMyAdmin Virtual Directory ชื่อ C:\AppServ\www\
10
ทำความรู้จักกับภาษา PHP
การที่ตัวแปลคำสั่ง PHP จะทราบว่าส่วนใดจะเป็นส่วนที่จะให้ทำงานในของ PHP นั้น ก็จะต้องมีการระบุวงเล็บคำสั่งของ PHP ก่อน ซึ่งวงเล็บสำหรับ PHP สามารถใช้งานได้ หลายรูปแบบคือ <?php ?> <? ?> เป็นการใช้วงเล็บแบบสั้น แต่อาจจะมีการซ้ำซ้อนกัน ถ้าหากต้องการใช้ XML ร่วมด้วย เพราะวงเล็บแบบนี้เป็นการใช้ของ XML เช่นกัน <% %> เป็นรูปแบบวงเล็บของภาษา ASP ของ Microsoft <SCRIPT LANGUAGE=”PHP”> </SCRIPT> ใช้ในลักษณะของ Script เหมือนกับ Java Script
11
รู้จักกับ PHP TAG PHP TAG – เป็นการระบุส่วนของโปรแกรม PHP ที่แทรกอยู่ในไฟล์ HTML ซึ่งมีอยู่ 4 แบบ แบบที่ 1 XML style (Extensible Markup Language) <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
12
รู้จักกับ PHP TAG แบบที่ 2 SGML style (Standard Generalized Markup Language) <? คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
13
รู้จักกับ PHP TAG แบบที่ 3 Java Language style
<script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง echo “Hello ! World”;
14
รู้จักกับ PHP TAG แบบที่ 4 ASP Style <% คำสั่งภาษา PHP %>
ตัวอย่าง <% echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; %>
15
<?php echo "Hello World!!"; ?>
การเขียนภาษา PHP ต้องอยู่ภายใต้การเปิดและปิด TAG คำสั่ง ซึ่งต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย semicolon(;) เหมือน ภาษา C และ JAVA
16
Whitespace <?php echo "Hello "; echo “URU"; ?> <?php echo "Hello"; echo “URU"; ?> การพิมพ์ตัวอักษร หรือคำสั่งที่มองไม่เห็น แต่ทำให้เกิดช่องว่าง หรือ การขึ้นบรรทัดใหม่ อันประกอบด้วย enter space tab จะไม่มีผลกระทบต่อผลลัพธ์ที่ได้
17
Comment <?php // echo "Hello "; echo “URU"; ?> <?php
การเขียนหมายเหตุเพื่อใช้อธิบายรายละเอียดโปรแกรม หรือ เพื่อแก้ไขโปรแกรม มี 2 แบบ คือ // สำหรับ Comment บรรทัดเดียว /* */ สำหรับ Comment เป็นช่วงหลายบรรทัดติดกัน
18
การใช้งานกับ Dynamic Control
<?php echo "วันที่และเวลา"; echo "<br>"; echo date("j/m/Y, H:i:s"); ?> คือข้อมูลที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เช่นการแสดงผลวันเวลาปัจจุบัน
19
รู้จักกับ PHP TAG สามารถเขียนบล็อกคำสั่งของ PHP แทรกไว้ใน HTML ได้
<body> <? echo “Hello World”; ?> </body> </html>
20
คำสั่งแสดงผล ในการแสดงผลลัพธ์ของโปรแกรมภาษา PHP ได้จัดเตรียมคำสั่งดังนี้ 1. echo เช่น echo “Welcome”; โดยข้อความจะเขียนอยู่ใน “” หรือ ‘ ’ ก็ได้ 2. print เช่น print “Welcome”; 3. <?= ข้อมูลที่ต้องการแสดงผล ?> เช่น <?= “Welcome”; ?> 4. printf
21
รู้จักกับ PHP TAG สามารถเขียนบล็อกคำสั่งของ PHP นี้ได้หลายๆ บล็อกคำสั่งภายในโปรแกรมเดียวกัน <html> <body> <? echo “Hello World”; ?> <br> <? echo “IT Class”; ?> </body> </html>
22
รู้จักกับ PHP TAG สามารถเขียนบล็อกคำสั่งของ PHP ได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องอยู่ภายในแท็กของคำสั่ง HTML ก็ได้ <? echo “Hello World”; echo “IT Class”; ?> เมื่อเปิดบล็อกคำสั่งของ PHP แล้ว จำไว้เสมอว่าภายในบล็อกคำสั่งนี้จะต้องเป็นคำสั่งภาษา PHP เท่านั้น
23
ตัวแปร ตัวแปร (Variables) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลภายในหน่วยความจำ (RAM) ของคอมพิวเตอร์ ตัวแปรสามารถจัดเก็บข้อมูลใดๆก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลตัวเลข ตัวอักษร เครื่องหมาย เป็นต้น ลักษณะที่สำคัญของตัวแปร คือ ค่าที่จัดเก็บไว้ตัวแปรใดๆแล้ว เมื่อปิดโปรแกรม หรือเครื่อง คอมพิวเตอร์ ข้อมูลนั้นจะถูกลบทิ้งไปจากหน่วยความจำ ตัวแปรสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงค่าที่จัดเก็บไว้ได้ ตลอดเวลา
24
ตัวแปร PHP ไม่ต้องประกาศตัวแปรก่อนการใช้งาน สามารถใช้งานได้เลย
การกำหนดตัวแปร จะใช้เครื่องหมาย $ นำหน้า ไม่ต้องกำหนดชนิดของตัวแปรก่อนการใช้งาน PHP จะมองจากการใส่ค่าให้กับตัวแปรนั้น ๆ เช่น $A = ‘A12’; // ตัวแปร $A เป็นชนิด string $B = “123”; // ตัวแปร $B เป็นชนิด string $C = 123; // ตัวแปร $C เป็นชนิด integer $D = 1.23; // ตัวแปร $D เป็นชนิด floating-point หากใช้ “ ” หรือ ‘ ’ กำหนดค่าให้กับตัวแปร PHP จะมองว่าตัวแปรเป็น string ทันที
25
ตัวแปร กฏเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร
ชื่อตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยเครื่อง $ (dollar sign) เสมอ หลังเครื่องหมาย $ จะตามด้วยชื่อตัวแปรโดยที่ตัวแรกของชื่อต้องเป็นตัวอักษร หรือเครื่องหมาย _ (underscore) เท่านั้น ตัวถัดมาของชื่อตัวแปรสามารถเป็นตัวอักษร หรือตัวเลข หรือเครื่องหมาย _ (underscore) เพื่อผสมเป็นชื่อได้ ชื่อของตัวแปรมีคุณสมบัติเป็น case-sensitive คือตัวอักษรตัวใหญ่และตัวเล็กถือว่าเป็นคนละตัวกัน ไม่ควรตั้งชื่อซ้ำกับ keyword และฟังก์ชันมาตรฐาน (Built-in function) เพราะจะเกิดข้อผิดพลาดขึ้น
26
ตัวแปร PHP Keywords (คำสงวน) and false or break for require
case foreach return class function static continue global switch default if this do include true else list var elseif new virtual extends not xor while
27
ตัวแปร ชนิดของตัวแปร (Variable Type) Boolean -> True , False
Integer -> เลขจำนวนเต็ม Float -> เลขจำนวนจริง String -> ตัวอักษรที่นำไปคำนวณทางคณิตศาสตร์ไม่ได้ Array -> ตัวแปรชุด Object -> เก็บคุณสมบัติของ Object Resource -> สำหรับอ้างอิงถึงแหล่งภายนอก เช่น การเปิดไฟล์ข้อมูล การเชื่อมต่อฐานข้อมูล Null -> ตัวแปรที่ไม่มีค่าอะไรเลยเรียกว่ามีค่าเป็น Null เช่น เมื่อประกาศตัวแปรแล้วแต่ยังไม่ได้กำหนดค่าใดๆ ให้ตัวแปร สามารถกำหนดค่าให้ตัวแปรมีค่าเป็น Null ได้ $MySalary = NULL;
28
ตัวแปร ชนิดของตัวแปรในภาษา PHP สามารถกำหนดได้ โดยไม่ต้องประกาศชนิดของตัวแปรก็ได้ และเมื่อกำหนดค่าให้กับตัวแปร ที่มีชนิดที่แตกต่างกับชนิดเดิม ชนิดของตัวแปรจะเปลี่ยนตามชนิดของตัวแปรที่กำหนดให้ใหม่ <? $x = “Hello”; echo “x =" . $x; $x= 20-10; echo “ x =" . $x; ?> ผลลัพธ์ x =Hello x = 10
29
ตัวแปร เลขจำนวนจริง (Float/Double)
เขียนในรูปแบบของเลขทศนิยมและเลขยกกำลัง $i = 6.254; $j = -2e12; # มีค่าเท่ากับ -2 x 1012 ตรรกะ(Boolean) ใช้จัดเก็บค่าความจริงทางตรรกะ $num1 = 5; $num2 = 10; $num3 = $num1 < $num2;
30
ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ (Arithmatic Operators)
Opt Integer Output Float + 1 + 2 3 3.0 - 2 - 3 -1 2.0 – 3.0 -1.0 * 3 * 4 12 3.0 * 4.0 12.0 / 24 / 5 4 24.0 / 5.0 4.8 % 23 % 7 2 23.0 % 7.0 2.0
31
ตัวดำเนินการตรรก (Logical Operators)
int i = 0; boolean b; Boolean Logical Operator & b = false & (++i<10) false i = 1 | b = false | (++i<10) true ^ b = false ^ (++i<10) ! b = !(++i<10) Short-circuit logical Operator && b = false && (++i<10) i = 0 || b = true || (++i<10)
32
เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น
[],(), op++, op-- ++op,--p, +op, -op, ~, ! New, (type)op *,/,% +,- <<,>>,>>> <,>,>=,<=,instanceof ==,!= & ^ | && || ?: =,+=,-=,*=,/=,%=,&=, ^=,|=,<<=,>>=,>>>= ลำดับความสำคัญ สำคัญมาก สำคัญน้อย เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น
33
ค่าคงที่ ค่าคงที (Constant) ตัวอย่าง define (ชื่อค่าคงที่,ข้อมูล);
<? define(“MYNAME”, “Winyou”); define(“VAT”,7); echo “Value Added Tax = ”. VAT . “<br>”; echo “My name is ” . MYNAME; ?> ผลลัพธ์ Value Added Tax = 7 My name is Winyou
34
ตัวแปร สายอักขระ (String)
ใช้จัดเก็บตัวอักษรและข้อความทั่วไป โดยจะต้องอยู่ ในเครื่องหมาย double quotes (“ ”) $name=“GT DPU”; สัญลักษณ์ ความหมาย \n ใช้ขึ้นบรรทัดใหม่ \f เลื่อนเคอร์เซอร์ไปต้นบรรทัด \t ใช้เลื่อน Tab \\ ใช้พิมพ์เครื่องหมาย \ (Backslash) \$ ใช้พิมพ์เครื่องหมาย $ (Dollar) \” ใช้พิมพ์เครื่องหมาย “ (Double Quote) \0 กำหนดจุดสิ้นสุดของ string
35
แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมหาผลรวมของเลขตั้งแต่ 1 ถึง 10 (บันทึกไฟล์ชื่อ summary.php) เขียนโปรแกรมคำนวณหาค่าของ 16 ยกกำลัง 4 (บันทึกไฟล์ชื่อ power.php) เขียนโปรแกรมหาพื้นที่วงกลมรัศมี 10 หน่วย โดยกำหนด pi เป็นค่าคงที่ (final) มีค่าเท่ากับ 3.14 (circle.php)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.