งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การออกแบบเครื่องมือวิจัย

2 เครื่องมือวิจัย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม บอกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลได้
บอกหลักการ ขั้นตอนและเทคนิคการสร้างเครื่องมือวิจัยได้ สามารถสร้างเครื่องมือวิจัยได้

3 การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย
ประเภทของข้อมูล 1. แบ่งตามที่มา --- ปฐมภูมิ --- ทุติยภูมิ 2. แบ่งตามคุณสมบัติทางการวัด * เชิงคุณภาพ * เชิงปริมาณ

4 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวางแผน 2. เก็บรวบรวม 3. ตรวจสอบ

5 ลักษณะที่ดีของการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ไม่มีอคติ 2. มีความแม่นยำ 3. มีระยะเวลา& ขอบเขตการเก็บข้อมูล

6 เทคนิคการเลือกวิธีการเก็บข้อมูล
จากปัญหาการวิจัย แบบของการวิจัย ตัวอย่าง จำนวน และสถานที่ ระยะเวลาในการศึกษา ทรัพยากรที่มี

7 เครื่องมือในการทำวิจัย
หมายถึง เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์เฉพาะ ของการวิจัย

8 ประเภทของเครื่องมือ 1.สร้างขึ้นมาใหม่ทั้งหมด ( constructed instuments) 2.นำเครื่องมือที่มีอยู่แล้วมาพัฒนา ( developed instruments) 3.นำเครื่องมือที่มีอยู่แล้วมาใช้ ( copied instruments)

9 เครื่องมือสำหรับรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
1.1 เครื่องมือที่ใช้วัดทางกายภาพ เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องวัดความดันโลหิต 1.2 เครื่องมือที่ใช้วัดทางเคมี เช่น Labstric (เครื่องมือตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะ) 1.3 เครื่องมือที่ใช้วัดทางจุลชีววิทยา เช่น กล้องจุลทัศน์

10 เครื่องมือสำหรับรวบรวมข้อมูลทางสังคมศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ
แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ แบบวัดทัศนคติ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ แบบจดบันทึกข้อมูล

11 1.ร่างเครื่องมือตามกรอบแนวคิด
2.พบที่ปรึกษา ระเบียบวิธีการสร้างเครื่องมือ ปัญหา/ วัตถุประสงค์ 3. หาความตรง ประเมินความชัดเจน ความครอบคลุม ทบทวนโครงสร้าง ของเครื่องมือ 4. พัฒนา”เครื่องมือ.” 5. ทดลองใช้ (try out ) 6. หาความเที่ยง ( reliability )

12 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย
โครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.กำหนดวัตถุประสงค์ 2.กำหนดประเด็นหลักของเนื้อหา 3.แจกแจงประเด็นหลักเป็นประเด็นย่อย 4. กำหนดจำนวนข้อคำถาม 5. กำหนดประเภทของคำถาม 6. กำหนดรูปแบบของคำถาม 7.ตรวจสอบความสอดคล้อง 8.จัดทำแบบสอบถามฉบับร่าง 9.ทดลองใช้ แก้ไขและจัดพิมพ์

13 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของเครื่องมือ
นำไปใช้เรื่องอะไร กับใคร ที่ ไหน เพื่อวัตถุประสงค์ใด

14 2. กำหนดประเด็นหลักของเนื้อหา
วัตถุประสงค์ ประเด็นหลัก A A1 A2 A3 B B1 B2 B3

15 แจกแจงประเด็นหลักเป็นประเด็นย่อย
ประเด็นหลักที่ 1 1.1 ประเด็นย่อยที่ 1 1.2 ประเด็นย่อยที่ 2 2. ประเด็นหลักที่ 2 2.1 ประเด็นย่อยที่ 1 2.2 ประเด็นย่อยที่ 2

16 4.การกำหนดข้อคำถาม ประเด็นหลัก น้ำหนัก % ประเด็นย่อย น้ำหนัก % จำนวนข้อ A a a a B b b b รวม

17 ประเด็นหลัก 1. การรับประทานอาหาร 2. การออกกำลังกาย 3. ภาวะแทรกซ้อน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ประเด็นหลัก การรับประทานอาหาร 2. การออกกำลังกาย 3. ภาวะแทรกซ้อน ประเด็นหลัก การรับประทานอาหาร ประเด็นย่อย ชนิดของอาหาร 2. ประมาณอาหารที่รับประทาน ประเด็นหลัก การออกกำลังกาย ประเด็นย่อย หลักการออกกำลังกาย

18 1. การรับประทานอาหาร 40% 1. ชนิดของอาหาร 20% 2 2. ประมาณอาหาร
ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ข้อ 1. การรับประทานอาหาร 40% 1. ชนิดของอาหาร % 2 2. ประมาณอาหาร ที่รับประทาน 20% 2 2. การออกกำลังกาย % 1. หลักการออกกำลังกาย 30% 3 2. ประเภทการ ออกกำลังกาย % 3

19 5. การกำหนดประเภทคำถาม --- ถามความรู้ --- ความคิดเห็น --- ถามพฤติกรรม

20 6.การกำหนดรูปแบบของคำถาม
6.1 คำถามปลายเปิด ถ้าให้ท่านเปรียบเทียบพยาบาลวิชาชีพกับดอกไม้ท่านจะเปรียบเทียบกับดอกอะไร เพราะอะไร

21 6.2 คำถามปลายปิด - แบบเลือกตอบ 1 ใน 2 ( ) หญิง ( ) ชาย

22 -แบบประมาณค่า (Rating)
อาจารย์มีการเตรียมสอน ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) -แบบเติมคำ อายุ ____ ปี -แบบถูกผิด -แบบจับคู่

23 -แบบเลือกตอบตามที่เห็นสมควร
ท่านได้รับข้อมูลข่าวสารรู้เกี่ยวกับพยาบาลจากที่ใดบ้าง (ตอบได้หลายข้อ) ( )โทรทัศน์ ( ) วิทยุ ( ) หนังสือพิมพ์ ( ) อินเตอร์เนต -แบบเลือก 1 คำตอบจากหลายตัวเลือก อาชีพ ( ) รับราชการ ( ) พนักงานรัฐวิสาหกิจ ( )ธุรกิจส่วนตัว ( )

24 - แบบจัดลำดับ (Ranking ) ให้เรียงลำดับกิจกรรมการทำแผลจากที่สำคัญที่สุด (1) ถึงสำคัญน้อยที่สุด (4)
( ) ล้างมือ ( ) ประเมินแผล ( ) ดูความพร้อมของผู้ป่วย ( ) เตรียมอุปกรณ์การทำแผล

25 การวัดทัศนคติ ทัศนคติ (attitude)หมายถึง ความโน้มเอียงหรือความพร้อมที่จะแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง (McDonade, 1989) กระบวนการที่เริ่มจากความคิด ความรู้สึกและทำให้เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าซึ่งอาจเป็นบุคคล สิ่งของ สถาบัน สถานการณ์ หรือแนวความคิด การตอบสนองนี้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ แนวโน้มที่จะชอบหรือพอใจ เรียกว่า ทัศนคติทางบวก และแนวโน้มที่จะไม่ชอบหรือไม่พอใจ เรียกว่าทัศนคติทางลบ (ยุวดี ฦาชาและคณะ, 2537)

26 แบบวัดทัศนคติ แบบเธอร์สโตน (Thurstone) แบบลิเคิร์ท (Likert)
แบบออสกูด (Osgood) เลือกแบบไหนดี !!

27 แบบวัดทัศนคติของลิเคิร์ท ( Likerts’s method )
ใช้หลักการวัดค่ารวม (summative scale) เน้นการวัดในด้านความเป็นมิติเดียวกัน * สร้างข้อความทั้งทางบวกและทางลบ จำนวนใกล้เคียงกัน * มีข้อความที่มีคำตอบให้เลือกเป็นแบบประมาณค่า ( Rating scale ) ที่มี 4 คำตอบ หรือ 5 คำตอบ

28 มาตรวัดของลิเคิร์ทสเกล
แบ่งคะแนนทัศนคติหรือความรู้สึกออกเป็น 5 ช่วงเท่าๆ กัน (ทั้งทางบวกและทางลบ) ข้อความทางบวก 5 = เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 = เห็นด้วย 3 = ไม่แน่ใจ 2 = ไม่เห็นด้วย 1 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ข้อความทางลบ 5 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 = ไม่เห็นด้วย 3 = ไม่แน่ใจ 2 = เห็นด้วย 1 = เห็นด้วยอย่างยิ่ง

29 7. ตรวจสอบความสอดคล้อง -- ตรงตามเนื้อหาสาระ
--ความครอบคลุมประเด็นหลัก ประเด็นย่อย -- ตรงตามวัตถุประสงค์

30 8. จัดทำเครื่องมือฉบับร่าง
แบบสอบถามประกอบด้วย 1. การพิทักษ์สิทธิของผู้ตอบ 2. ชื่อแบบสอบถาม 3. คำชี้แจง คำแนะนำในการตอบ ตอนที่ 1 เกี่ยวกับผู้ตอบ เป็นคำถามที่เกี่ยวข้อง กับผู้ตอบถามเฉพาะเรื่องที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง ตอนที่ 2 เนื้อหาสาระที่ต้องการถามตามรูปแบบ ของคำถาม

31 9.ทดลองใช้ แก้ไข จัดพิมพ์

32

33 แบบสอบถาม “ความคิดเห็นในการปฏิบัติงานประจำวัน” คำแนะนำในการตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามนี้ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล 8 ข้อ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นในการปฏิบัติงานประจำวัน 60 ข้อ โปรดอ่านคำชี้แจงก่อนตอบแบบสอบถามแต่ละส่วน โปรดตอบแบบสอบถามทุกส่วนและทุกข้อไม่ละเว้นข้อใด เพื่อให้คำตอบของท่านสามารถใช้เป็นข้อมูลที่สมบูรณ์ในการวิจัยครั้งนี้ และเป็นประโยชน์ในการพัฒนาวิชาชีพพยาบาล

34 ส่วนที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคล
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่องว่าง ( ) หน้าข้อความ หรือ เติมคำลงในช่องว่างเกี่ยวกับตัวท่านตามความเป็นจริง 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. ปัจจุบันท่านอายุ………..ปี…………….เดือน 3. สถานภาพสมรส ( ) โสด ( ) คู่ ( ) หม้าย ( ) หย่า 4. วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด ( ) ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ( ) ปริญญาโท สาขา…………………… ( ) อื่นๆ โปรดระบุ………………………

35 ส่วนที่ 2 ความเห็นในการปฏิบัติงานประจำวัน
คำชี้แจง แบบสอบถามนี้มีจำนวน ข้อ ข้อความต่อไปนี้เป็นการบรรยายการกระทำหรือความคิดที่เกิดขึ้น โปรดพิจารณาว่าการกระทำหรือความคิดดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นกับท่านบ่อยมากน้อยเพียงใด กรุณาทำเครื่องหมาย ลงในช่องหมายเลขที่ตรงกับคำตอบของท่านเพียงคำตอบเดียว โดยหมายเลขที่ให้เลือกมี ความหมายดังนี้ 1 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านน้อยที่สุดหรือไม่ เกิดขึ้นเลย 2 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านน้อย 3 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านเป็นครั้งคราว 4 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านบ่อย 5 หมายถึง การกระทำนั้นเกิดขึ้นกับท่านบ่อยที่สุด

36 ข้อความ ระดับของการเกิดขึ้น 1 2 3 4 5 ฉันคิดว่าฉันสามารถเลือกทำงานสิ่งที่ตนเองต้องการได้ ฉันหาวิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ฉันพิจารณาหาทางเลือกหลายๆ ทางก่อนตัดสินใจ 60 ฉันหาวิธีการช่วยให้ผู้อื่นสามารถตัดสินใจในการหาทางเลือกด้วยตนเอง


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google