ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRidwan Hardja ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
A Strategic Approach to Energy and Environmental Management
กลยุทธ์ในการจัดการ ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม อาจารย์ณัฐิดา จันหอม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
2
“กลยุทธ์ในการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม”
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้องค์กรได้รับผลประโยชน์ในทางการเงิน มิติด้านสิ่งแวดล้อมต่อการจัดการพลังงาน การให้คำมั่นของผู้บริหาร มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการเสนอรายงานต่อสาธารณชน การศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ การวางแผนและการจัดการองค์กร กลยุทธ์การจัดการด้านพลังงาน การนำแผนไปปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ การวัดผลการปฏิบัติการด้านการจัดการ การเขียนแผนปฏิบัติการ การควบคุมและ การกำกับดูแลการปฏิบัติการ การจัดการเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กรณีศึกษา
3
มิติด้านสิ่งแวดล้อมต่อการจัดการพลังงาน
Start การจัดการด้านพลังงาน >> ภาวะต้นทุนด้านพลังงานที่สูงขึ้น (วิกฤตด้านพลังงาน) ความคิดเรื่องสภาพสิ่งแวดล้อม >> Global warming >> Climate change >> Fossil diffusion NOW มุ่งเน้นการจัดการด้านการใช้พลังงานเพื่อช่วยลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม >> ยกเลิกการใช้สาร CFC >> ออกแบบบรรจุหีบห่อให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ >> จัดสรรการใช้เคมีภัณฑ์ต่างๆ
4
มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการเสนอรายงานต่อสาธารณชน
แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านพลังงาน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อม เราต้องทำอะไร เราต้องการทำอะไร เขาต้องการอะไร สิ่งที่พูดคือสิ่งต้องการ
5
มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการเสนอรายงานต่อสาธารณชน
แนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม วิธีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม แจ้งสาธารณชนว่าคุณต้องทำอะไร แจ้งสาธารณชนว่าคุณต้องการทำอะไร แจ้งสาธารณชนให้ทราบว่าคุณคิดว่าเขาต้องการอะไร แจ้งสาธารณชนว่าสิ่งที่เขาพูดคือสิ่งที่เขาต้องการ เนื้อหาของรายงาน การเปิดเผยข้อผูกพัน วิธีปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Best practice) การดำเนินงานตามแผนงาน (Program Implementation) เป้าหมายเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน พัฒนาการเรื่องการรายงานต่อสาธารณชน
6
มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่นิยมนำมาเผยแพร่
มาตรฐานของอังกฤษในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม BS (The British Standard for environmental management systems) มาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรปในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมรวมทั้งระบบการตรวจสอบ EMAS (The European Union’s Eco-Management And Audit Scheme) มาตรฐานสากลการจัดการด้านพลังงาน ISO 14001
7
กลยุทธ์การจัดการด้านพลังงานกลยุทธ์ในการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
การได้รับคำมั่นจากผู้บริหาร (Get commitment) การทำความเข้าใจ (Understand) การวางแผนและการจัดการองค์กร (Plan and organise) การนำแผนไปปฏิบัติ (Implement) การควบคุมและติดตาม (Control and monitor)
8
การได้รับคำมั่นจากผู้บริหาร
(Get commitment) ค่าใช้จ่าย (Expenditure) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social responsibility) คุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total quality) การสื่อสาร (Communication)
9
การวัดผลการดำเนินงานในปัจจุบันของกิจการ
การทำความเข้าใจ (Understand) การวัดผลการดำเนินงานในปัจจุบันของกิจการ วิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประสิทธิภาพ พลังงานและการรักษา สิ่งแวดล้อม ลูกจ้าง (สภาพแวดล้อม การทำงานที่ดี) ชุมชน (มีคุณภาพชีวิตที่ดี) ลูกค้า (คุ้มกับเงินที่จ่าย) ผู้บริหาร/ผู้ถือหุ้น (ผลตอบแทนจาก การลงทุนและ ผลกำไรที่ยั่งยืน) ผู้เสียภาษี (ให้ใช้เงินภาษีอย่าง มีประสิทธิภาพ) ระบุอุปสรรค์ต่อความก้าวหน้า
10
การวางแผนและจัดองค์กร
การจัดทำนโยบาย การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย การจัดทำแผนปฏิบัติการ
11
การจัดทำนโยบาย ความเชื่อถือ การนำไปประยุกต์ใช้ การให้คำมั่น
นโยบายด้านพลังงาน การนำไปปฏิบัติ การทบทวน
12
การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ต้นทุนและผลตอบแทน ทรัพยากร สร้างแรงจูงใจกับพนักงานในองค์กร
13
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติการ(กิจกรรม) วันที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ อนุมัติโดย
14
การนำโปรแกรมการจัดการไปปฏิบัติ
ลำดับความสำคัญของแผนปฏิบัติการ ฝึกอบรมและการสร้างจิตสำนึก ประสานกับกระบวนการทางธุรกิจ ปฏิบัติงานด้านการติดต่อสื่อสาร เอาชนะอุปสรรคต่อความก้าวหน้า
15
การควบคุมและติดตามผลการปฏิบัติงานด้านการจัดการ
การได้รับคำมั่นจากผู้บริหาร การทำความเข้าใจ การวางแผน และการจัดการองค์กร การนำแผนไปปฏิบัติ
16
การวัดผลการปฏิบัติงานด้านการจัดการ
1.ทำความเข้าใจดัชนีชี้วัดการปฏิบัติการ และวิธีใช้ดัชนีชี้วัด เพื่อช่วยให้การจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูล การอธิบายผล และการรายงานผล นำไปปฏิบัติ “ถ้าคุณไม่สามารถวัดได้ คุณไม่สามารถจัดการได้”
17
กรอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการที่พึงประสงค์
2.ใช้ตารางการจัดการอย่างง่าย เพื่อประเมินการปฏิบัติการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม นโยบาย การจัดองค์กร การสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร การวางแผน การตรวจวิเคราะห์ นโยบาย การจัดองค์กร การสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร การวางแผน การตรวจวิเคราะห์ แผนบริหาร การจัดการ กรอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการที่พึงประสงค์ กรอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการที่เป็นอยู่
18
3.การวางแผนเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน
“ทำหน้าที่สะท้อนให้เห็นถึงภาพการบริหารในปัจจุบันและชี้ให้เห็นถึงเป้าหมายที่องค์กรต้องการมุ่งไป”
19
การเขียนแผนปฏิบัติการอย่างละเอียด
คำแถลงนโยบาย การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย จัดทำแผนปฏิบัติการและการจัดทำรายการตรวจสอบ บทบาทและความรับผิดชอบ
20
การจัดการเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
สร้างกรอบการตรวจวิเคราะห์การจัดการ ดำเนินการตรวจวิเคราะห์การจัดการ ออกแบบโปรแกรมการตรวจวิเคราะห์การจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
21
กรอบการตรวจวิเคราะห์การจัดการ
กฎระเบียบข้อบังคับ คู่มือการตรวจสอบ รายงานการตรวจวิเคราะห์ การแก้ไข หลักปฏิบัติที่ดี นโยบายวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การตรวจสอบความถูกต้อง -การสัมภาษณ์ -การทบทวนเอกสาร -สังเกตการณ์ การประเมิน -ความชำนาญทางเทคนิค -ประสบการณ์ -การตัดสินใจ แบบมืออาชีพ
22
การออกแบบโปรแกรม การตรวจวิเคราะห์
เป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ ทรัพยากร ขอบเขต ความครอบคลุม แนวทาง
23
กรณีศึกษา
24
บริษัท เจนเนอรอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยีจำกัด
-การให้บริการด้านพลังงาน -การให้บริการด้านสิ่งแวดล้อม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.