งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
Electron micrograph of rotavirus

2 Rotavirus Family: Reoviridae - non enveloped dsRNA virus ~70 nm
- 2 layers capsid; outer capsid and inner capsid Serogroups: 7 serogroups (A - G) 2 subgroup (I,II) - A, B, C and G cause disease in human and - D, E and F cause disease in animal only Serotypes: G serotypes by VP7,G (glyco) protein - G1 to G4 and G9 most common cause of GE P serotypes by VP4, P (protease cleavage) protein (1-8) - G1P[8], G2P[4], G3P[8], G4P[8], G9P[8], G6P[8] are most prevalent in USA VP7 and VP4 antigens define virus serotype and induce neutralizing antibody

3 ผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อ RTV
Rotavirus Immunity ภูมิคุ้มกันต่อ VP7 และ VP4 มีความสำคัญในการป้องกันโรค การติดเชื้อครั้งแรกส่วนใหญ่ไม่ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันที่ถาวร การติดเชื้อซ้ำเกิดขึ้นได้ทุกกลุ่มอายุ ส่วนใหญ่การติดเชื้อซ้ำจะรุนแรงน้อยลง ผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อ RTV เด็กในสถานสงเคราะห์ เด็กที่อยู่ในโรงพยาบาล (nosocomial RTV) ผู้เลี้ยงดูเด็ก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง เด็ก / ผู้ใหญ่ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง

4 by the age of 2 for 1 child in 10
All children will be infected by rotavirus at least once by 5 years of age up to 5 infestations by the age of 2 for 1 child in 10 1st infection (98%) 2nd infection (65%) 3rd infection (40%) 4th infection (20%) 5th infection (10%) Age (months) Rotavirus Infection (%) Probability of Probability of Rotavirus Infection in the First 2 Years of Life Source: Velazquez, FR, Matson, DO et al. N Engl J Med. 1996;335:

5 Rotavirus Epidemiology
แหล่งแพร่เชื้อ ระบบทางเดินอาหารของคน เชื้อถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระ มีรายงานว่าอาจจะแพร่ทางระบบหายใจ แต่ยังไม่มีการยืนยัน ทางเข้า ทางปาก fecal-oral สัมผัสกับผู้ป่วย ระยะที่มีการขับถ่ายเชื้อ RTV ออกมากับอุจจาระจำนวนมาก ผ่านเครื่องใช้/ของเล่น (fomites) ของผู้ป่วยที่มีเชื้อที่ออกมากับอุจจาระปนเปื้อนอยู่ เชื้ออาจปนเปื้อนในน้ำดื่ม น้ำใช้ ระยะเวลาที่ติดเชื้อ 2 วันก่อน ถึง 10 วันหลังมีอาการ ซึ่งเป็นเชื้อขับถ่ายออกมาจำนวนมาก RTV ทนอยู่ได้นานในสิ่งแวดล้อม อาจอยู่ได้ถึงเดือน ถ้าไม่มีการฆ่าเชื้อ (disinfected)

6 Rotavirus Pathogenesis
ทางเข้า เชื้อเข้าทางปาก (Oral-fecal) เชื้อเข้าไปเพิ่มจำนวนในเยื้อบุลำไส้เล็ก ทำให้มี atrophy of villi ส่วนใหญ่ไม่พบเชื้อกระจายไปนอกลำไส้ หรือ เข้ากระแสเลือด การติดเชื้อทำให้มีการเปลี่ยนแปลงในการดูดซึมและควบคุมสารน้ำและเกลือแร่ต่างๆ ทำให้เกิดอาการถ่ายเป็นน้ำ อาเจียน มีการเสียน้ำและเกลือแร่อย่างรุ่นแรง ในเด็กที่มีภาวะถูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อไวรัสอาจอยู่นานและอาจมีสภาวะเรื้อรังได้

7

8 อาการและอาการแสดง ถ้าติดเชื้อครั้งแรกหลังอายุ 3 เดือน ส่วนใหญ่จะมีอาการรุนแรง ผู้ติดเชื้อบางรายอาจไม่มีอาการ หรือ อาการไม่รุนแรง หรือ อาจมีอาการถ่ายเป็นน้ำจนทำให้มีภาวะขาดน้ำรุนแรง ร่วมกับอาการไข้ อาเจียนและปวดท้อง โดยทั่วไปอาการอุจจาระร่วงและอาการปวดท้อง อาเจียนจะเป็นอยู่ 3-7 วัน ในรายที่อาการอุจจาระร่วงรุนแรงจะนำไปสู่ภาวะขาดน้ำรุนแรงและความไม่สมดุลของเกลือแร่ มีภาวะเลือดเป็นกรด (metabolic acidosis) ซึ่งถ้าไม่ได้รับการรักษาทันท่วงทีอย่างถูกต้องจะทำให้เสียชีวิตได้

9 % Positive for Rotavirus, WHO Regional Medians and Ranges, 2009
Country-specific Ranges (%) Median (%) No. (%) Reporting Countries WHO region 15 – 59 35 12 (22) AFR 0 – 52 25 14 (25) AMR 14 – 60 42 13 (24) EMR 12 – 52 37 6 (11) EUR 26 – 48 4* (7) SEAR 24 – 68 47 WPR 0 – 68 36 55 (100) TOTAL * Nepal, Myanmar, Sri Lanka and Indonesia Countries using rotavirus vaccine: Bolivia, Colombia, Ecuador, El Salvador, Honduras, Nicaragua, Panama, Venezuela

10 Rates of rotavirus mortality < 5 years of age by country
Source: Tate JE, Burton AH, Boschi‐Pinto C, et al. 2008

11 ภาระโรคไวรัสโรต้าในประเทศไทย
41% Among IPD 19 % Among OPD Jirapongsa C., 2001–2006

12 ภาระโรคไวรัสโรต้าในประเทศไทย
12% in community Jirapongsa C., 2001–2006

13 อุบัติการณ์โรคอุจจาระร่วงจากไวรัสโรต้า ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในประเทศไทย
Source: Adjusted incidences from Jiraphongsa et al; Kim et al

14 จัดซื้อได้ในราคาถูกกว่า
วัคซีนไวรัสโรต้า จัดซื้อได้ในราคาถูกกว่า เป็นวัคซีนชนิด 5 สายพันธุ์ G1, G2, G3, G4 and P[8] เป็นวัคซีนลูกผสม Human-Bovine ใช้ 3 doses ที่ 2, 4 และ 6 เดือน ในประเทศตะวันตกมีความปลอดภัยและประสิทธิผลสูง เป็นวัคซีนชนิด 1 สายพันธุ์ G1P[8] เป็นวัคซีน Human Rotavirus อ่อนฤทธิ์ ใช้ 2 doses ที่ 2 และ 4 เดือน ในประเทศตะวันตกมีความปลอดภัยและประสิทธิผลสูง

15 Rotarix Rotateq ชนิด (สายพันธุ์) Monovalent (G1) Pentavalent
(G1, G2, G3, G4, P1[8]) ลักษณะ ยาแขวนตะกอน ขนาด 1.5 ml 2 ml การให้ Oral จำนวนโด๊ส 2 โด๊ส 3 โด๊ส ประสิทธิภาพวัคซีนโดยรวม: > 95% (เฉลี่ยโดยรวมร้อยละ 70-75)

16 ชนิดของการป้องกัน ประสิทธิภาพ ในการป้องกัน
ป้องกันการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อโรต้าอย่างรุนแรง > 95 % ป้องกันการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อโรต้าโดยรวม 70-75 %

17 ท้องเสียรุนแรงจากไวรัสโรต้า
ประสิทธิภาพวัคซีน ประเทศ ประสิทธิภาพป้องกัน ท้องเสียรุนแรงจากไวรัสโรต้า ฟินแลนด์ 98% สิงคโปร์ 96% ญี่ปุ่น 95% แอฟริกาใต้ 72% นิคารากัว 46% มาลาวี 49% เวียดนาม 64% บังคลาเทศ 43%

18 การให้บริการวัคซีนโรต้าในประเทศไทย
ปี 2009 องค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ทุกประเทศให้วัคซีนไวรัสโรต้าในเด็ก และส่งเสริมให้ทดสอบประสิทธิผลของวัคซีนเมื่อใช้ในพื้นที่จริงในประเทศกำลังพัฒนา หลายประเทศได้บรรจุวัคซีนนี้ในแผนงาน EPI ของประเทศ และมีการทดลองประสิทธิผลของวัคซีนทั้งสองชนิดอย่างแพร่หลาย

19

20 การให้บริการวัคซีนโรต้าในประเทศไทย
ประเทศไทยคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคได้พิจารณาเรื่อง ความคุ้มทุนของวัคซีนไวรัสโรต้า และข้อแนะนำการใช้วัคซีนในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในการประชุมครั้งที่ 2/2553 วันที่ 8 มิถุนายน 2553 ให้นำวัคซีนโรต้ามาใช้ใน EPI โดยให้กรมคร. ทำการศึกษานำร่อง เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพของวัคซีนเมื่อใช้ในพื้นที่จริง + ผลกระทบทั้งด้านบวก และลบต่อแผนงานโดยรวม

21 รูปแบบการดำเนินงานฯ ส่วนที่ 1 : ดำเนินโครงการนำร่อง “การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้าในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค” ส่วนที่ 2 : โครงการศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนไวรัสโรต้าในประเทศไทย (Effectiveness of Rotavirus Vaccine in Thailand)

22 ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 1 เดือน HB2 (แม่เป็นพาหะ) 2 เดือน OPV1, DTP - HB1, Rota1 4 เดือน OPV2, DTP - HB2, Rota2 6 เดือน OPV3, DTP - HB3 9 เดือน MMR1 1 ปี LAJE1 1.5 ปี OPV4, DTP4 2.5 ปี MMR2, LAJE2 4 ปี OPV5, DTP5 7 ปี (ป. 1) MR (อนาคตจะให้เป็นเก็บตก) 11 ปี (ป. 5) HPV 1, HPV2 12-16 ปี (ป. 6) dT หญิงมีครรภ์ dT 3 ครั้ง (ขึ้นกับประวัติรับวัคซีน)

23 การนำร่องใช้วัคซีนไวรัสโรต้าในจังหวัดสุโขทัย
กรมควบคุมโรคร่วมกับ สสจ.สุโขทัย เริ่มนำร่องการใช้วัคซีน ตั้งแต่ ตค พบว่า วัคซีนได้รับการยอมรับทั้งจากประชาชนและบุคลากร สามารถดำเนินการได้ความครอบคลุมสูง โดยรวมไม่พบปัญหาด้านความปลอดภัย

24 Number of rotavirus diarrhea by month of onset

25 * * * Progress of Rotavirus vaccine in EPI * ongoing ACIP NEDL
Royal Thai Government Gazette ACIP P&P subcommittee NEDL Benefit package Financing New licensed vaccine If the vaccine is considered potential to be in national immunization program Full clearance of all criteria and final approval by the NEDL subcom Epidemiology/Dz burden/effectiveness/Progammatic feasibility/ Overall policy on P&P + CEA STEP 1 STEP 2 CEA/Budget impact/system capacity/equity Go through NHSO budgetary processes in case of high budget impact Health Economic WG Price Negotiation WG Coordination WG * * ID and vaccine WG * * ongoing


ดาวน์โหลด ppt การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google