งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
ประกอบด้วยขั้นตอนย่อๆ 7 ขั้นตอน เริ่มติดต่อฐานข้อมูล เลือกฐานข้อมูลที่ต้องการ กำหนดคำสั่ง SQL และส่งให้ทำงาน เก็บข้อมูลลงแปร Array นับจำนวน Record แสดงผลบราวเซอร์ ปิดฐานข้อมูล MySQL

2 1. เริ่มติดต่อฐานข้อมูล
ในการติดต่อฐานข้อมูล MySQL เรสมารถใช้ฟังชัน Mysql_connect() ซึ่งมีรูปแบบคำสั่งดังนี้ mysql_connect($hostname,$user,$password) or die (“message”);

3 mysql_connect($hostname,$user,$password) or die (“message”);
โดยที่ $hostname คือ ชื่อข้อความที่เป็น Host $user คือ ชื่อ Log in $password คือ รหัสผ่านสำหรับเข้าใช้ฐานข้อมูล MySQL or die(“message”) คือ ข้อความเพื่อแจงว่าติดต่อ Host ไม่ได้

4 ตัวอย่างการกำหนดตัวแปรและเริ่มต้นติดต่อฐานข้อมูล
$hostname=“localhost”;//ชื่อโฮสต์ $user=“ODBC”;//ชื่อผู้ใช้ $password=“”;//รหัสผ่าน //เริ่มติดต่อฐานข้อมูล mysql_connect($hostname,$user,$password) or die(“ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้”);

5 2. เลือกฐานข้อมูลที่ต้องการ
เมื่อติดต่อกับ MySQL ได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเลือกฐานข้อมูลที่ต้องการใช้ โดยใช้ฟังก์ชัน mysql_select_db() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ mysql_select_db($dbname) or die(“เลือกฐานข้อมูลไม่ได้”);

6 ตัวอย่างการเลือกฐานข้อมูล bookshop
$dbname=“bookshop”; mysql_select_db($dbname) or die(“เลือกฐานข้อมูลไม่ได้”);

7 3. กำหนดคำสั่ง SQL และสั่งให้ทำงาน
เมื่อเลือกฐานข้อมูลได้แล้ว ขั้นตอนต่อไป เป็นการเขียนคำสั่ง SQL แล้วสั่งทำงาน โดยฟังก์ชัน mysql_query($sql) mysql_db_query($sql) โดยที่ $sql คือคำสั่ง SQL ที่ต้องการ

8 ตัวอย่างการใช้คำสั่ง SQL เพื่อแสดงข้อมูลทุกฟิลด์จากตาราง book
$tblname=“book”; $sql=“select * from $tblname”; Mysql_db_query($sql);

9 จาก 2 คำสั่งที่ผ่านมา คือ
$sql=“select * from $tblname”; Mysql_db_query($sql); เราสามารถกำหนดคำสั่งได้ด้วยบรรทัดเดียว คือ Mysql_db_query($dbname,” select * from $tblname”);

10 4.เก็บข้อมูลลงตัวแปร Araay
หลังจากคำสั่ง SQL ทำงานแล้ว ก็จะได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเราจะต้องนำผลลัพธ์ ที่ว่านี้เก็บลงใน Array ด้วยฟังก์ชัน Mysql_fetch_array ซึ่งมีรูปแบบของคำสั่งดังนี้ $dbquery=mysql_db_query($dbname,”select * from $tblname”);

11 5.นับจำนวน Record เนื่องขั้นตอนที่ 4 เป็นการเก็บ Record ที่เป็นผลลัพธ์จากการ query ลงในตัวแปร ดังนั้น การนำผลลัพธ์ทั้งหมด ออกมาแสดงผล จึงต้องใช้วิธีการวนลูป(Loop)แสดงผล แต่ก่อนที่จะไปถึงการวนลูป ต้องทราบจำนวน Record ทั้งหมดก่อน ด้วยฟังก์ชัน mysql_num_row() $num_rows=mysql_num_rows($dbquery);

12 6. แสดงผลทางบราวเซอร์ การนำข้อมูลมาแสดงบน Browser นั้น นิยมแสดงให้อยู่ในรูปตารางข้อมูล คำสั่งที่ใช้ดึงแต่ละ Record ออกจาก($dbquery) คือ $result=mysql_fecth_array($dbquery); เมื่อผลลัพธ์ของแต่ละ Record ถูกบรรจุลงใน $result แล้วต่อไปคือการดึงแต่ละ field ออกมาแสดงผลการดึงแต่ละ field นี้ทำได้โดยการอ้างอิงตัวแปร เช่น

13 6. แสดงผลทางบราวเซอร์ (ต่อ)
$result[0] คือการอ้างอิงข้อมูลใน field แรกของ Record $result[“barcode”] คือการอ้างอิงข้อมูลของ field ชื่อ barcode นำการอ้างอิงแต่ละ field มาเขียนร่วมกับ Tag <td> เช่นecho “<tr><td>$barcode</td></tr>”

14 $i=0; while($i<$num_rows){ $result=mysql_fecth_array($dbquery) $barcode=$result[barcode]; $title=$result[title]; $author=$result[author]; $price=$result[prince]; Echo”<tr><td>$barcode</td><td>$title</td><td>$author</td><td>$price</td></tr>”; $i++; }

15 7. การปิดการติดต่อกับฐานข้อมูล
หลังจากแสดงผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ควรปิดการติดต่อฐานข้อมูล mysql ด้วยฟังก์ชัน mysql_close();


ดาวน์โหลด ppt การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google