ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยElza Pinheiro Aquino ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
อาจารย์ทวีศักดิ์ จันทร์งาม, สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2
บทนำ: Introduction ทำไม สถิติ จึงสำคัญ สถิติเป็นแค่ตัวเลขจริงหรือ ??
สถิติเป็นส่วนหนึ่งของสารสนเทศ (Information) สถิติเชื่อถือได้มากน้อยแค่ไหน สถิติเป็นอย่างไรในสายตาของเรา สถิติประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ??
3
วิชาสถิติ หรือสถิติศาสตร์
ความหมายของสถิติ สถิติ ข้อมูลสถิติ วิชาสถิติ หรือสถิติศาสตร์ เป็นสถิติในแง่การจัดการข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลเฉพาะเรื่อง เพื่อให้ผู้สนใจนำไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่เป็นตัวเลข เป็นสถิติในแง่ของการอธิบายทฤษฎีหรือระเบียบวิธีที่ว่าด้วยการวางแผน เก็บข้อมูล นำเสนอ วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล
4
ประเภทของสถิติ สถิติ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใช้ในการจัดการข้อมูล นำเสนอ และสรุปข้อมูล ใช้ในการหาข้อสรุปของประชากรจากข้อมูลตัวอย่าง
5
ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติ 2 ประเภท
ประเภทของสถิติ ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติ 2 ประเภท
6
กำหนดประเด็นปัญหาที่สนใจ อธิบายลักษณะของข้อมูล
กระบวนการของสถิติ อธิบายได้ด้วยการใช้ สถิติพรรณนา เช่น แผนภูมิ ตาราง หรือข้อความ ที่เหมาะสม กำหนดประเด็นปัญหาที่สนใจ แสวงหาข้อมูล อธิบายลักษณะของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลเพื่อตอบคำถาม แสวงหาได้จาก 1. การทดลอง 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์ 4. จากหน่วยงานอื่น ๆ (ข้อมูทุติยภูมิ เป็นต้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมานที่เหมาะสมกับข้อมูล
7
ประเภทของข้อมูลจำแนกตามแหล่งที่มา
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่ไม่ได้เก็บจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรงแต่ได้จากข้อมูลที่ผู้อื่นรวบรวมไว้
8
ประเภทของข้อมูลจำแนกตามลักษณะของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปตัวเลข (numerical data) ที่แสดงถึงปริมาณ อาจเป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คือค่าที่เป็นจำนวนเต็มหรือจำนวนนับ เช่น จำนวนรถยนต์ในเชียงใหม่ เป็นต้น หรือเป็นค่าที่ต่อเนื่อง คือค่าที่มีจุดทศนิยมได้ เช่น ความสูง เป็นต้น เป็นข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ เช่น เพศ เชื้อชาติ สถานภาพสมรส ศาสนา กลุ่มเลือด เป็นต้น
9
แบบฝึกหัด: จำแนกประเภทของข้อมูล
1. อัตราดอกเบี้ยบัตรเครดิต ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. รหัสนักศึกษา ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 3. จำนวนอุบัติเหตุ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 4. เพศ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 5. ศาสนา ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 6. รายได้ต่อเดือน ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ
10
มาตราการวัดของข้อมูล
เป็นข้อมูลแสดงความเป็นกลุ่ม เช่น เพศ นามบัญญัติ เป็นข้อมูลแสดงความเป็นกลุ่มและสามารถนำมาเรียงลำดับได้ เช่น เกรด A-F, ยศทหาร เป็นต้น เรียงลำดับ มาตราการวัดของข้อมูล อันตรภาค เป็นข้อมูลแสดงความถึงปริมาณ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ อัตราส่วน เป็นข้อมูลแสดงความถึงปริมาณ มีศูนย์แท้ เช่น รายได้ (บาท), ยอดขาย เป็นต้น
11
แบบฝึกหัด: มาตราการวัดของข้อมูล
1. อัตราดอกเบี้ยบัตรเครดิต อัตราส่วน 2. รหัสนักศึกษา นามบัญญัติ 3. จำนวนอุบัติเหตุ อัตราส่วน 4. อุณหภูมิ อันตรภาค 5. ศาสนา นามบัญญัติ 6. ระดับการศึกษา เรียงลำดับ
12
บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
การพยากรณ์อากาศ การพยากรณ์อากาศ ใช้หลักการของ สถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศ โดยอาศัยเงื่อนไขต่าง ๆ ในอดีตมาช่วยพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคต
13
บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
การเตือนภัยฉุกเฉิน
14
บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
การพยากรณ์ การเกิดโรค ค่าพยากรณ์การเกิดโรค ถือว่าเป็นตัวเลขสถิติอย่างหนึ่ง ที่มีความสำคัญที่จะนำมาใช้ในการเฝ้าระวังหรือแจ้งเตือนให้ประชาชนระมัดระวังมากขึ้นในช่วงเดือนที่มีการระบาดของโรคมาก เป็นต้น
15
บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
พันธุศาสตร์ สถิติ ถูกนำมาใช้เพื่อหาโอกาสของการเกิดโรคที่ถูกถ่ายถอดทางพันธุกรรม รวมทั้งการศึกษาหาปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลหรือส่งเสริมให้โรคที่ถ่ายทางพันธุกรรมเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น โรค Hemophilia (โรคทำให้มีภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ทำให้เลือกไหลออกมาง่ายและหยุดยาก)
16
บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
ทางการแพทย์
17
บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
การตรวจสอบคุณภาพ สถิติ เป็นเครื่องมือที่สำคัญต่อการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ หรือสินค้า ก่อนที่จะนำออกมาว่างขาย หรือมาบริโภค โดยถ้าผ่านเกณฑ์คุณภาพก็จะได้รับ โลโก้ QC หรือ QS นั้นเอง
18
ข้อควรระวังในการสรุปผลจากสถิติ
กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นกลาง บริษัทผู้ให้ทุนวิจัย เลือกหน่วยตัวอย่างที่ทำให้ผลการวิจัยเป็นไปตามความต้องการของบริษัทผู้ให้ทุนวิจัย หน่วยวิจัย
19
ข้อควรระวังในการสรุปผลจากสถิติ
การเลือกค่ากลางที่เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล ข้อมูลมีลักษณะเบ้ขวา ค่าเฉลี่ย (mean) ไม่ใช่ค่ากลางที่เหมาะสม ควรใช้ ค่ามัธยฐาน (median) แทน ข้อมูลมีลักษณะเบ้ซ้าย ค่าเฉลี่ย (mean) ไม่ใช่ค่ากลางที่เหมาะสม ควรใช้ ค่ามัธยฐาน (median) แทน ข้อมูลมีลักษณะสมมาตร ค่าเฉลี่ยเป็นค่ากลางที่เหมาะสม
20
ข้อควรระวังในการสรุปผลจากสถิติ
การกำหนดมาตราส่วนของแผนภูมิ ให้ความรู้สึกว่ามูลค่าการส่งออกของปี 2554 มีแนวโน้มลดลงในช่วง 3 เดือนสุดท้าย ให้ความรู้สึกว่ามูลค่าการส่งออกของปี 2554 มีแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงมากนักตลอดทั้งปี
21
ประวัติผู้สอน อาจารย์ทวีศักดิ์ จันทร์งาม
สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วท.บ. (สถิติประยุกต์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วท.ม. (ชีวสถิติ) มหาวิทยาลัยมหิดล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.