งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
การวิจัยและการวางแผนการซื้อ การบริหารต้นทุนจัดซื้อ การจัดการสัมพันธ์กับผู้จัดส่งสินค้า/วัตถุดิบ

2 วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงให้เห็นว่าการจัดการจัดซื้อที่ดีสามารถเพิ่มผลกำไรให้แก่กิจการได้อย่างไร เพื่อแสดงกิจกรรมที่ต้องดำเนินการในหน้าที่การจัดซื้อ เพื่ออธิบายผลกระทบของการผลิตแบบ just-in-time ในการจัดซื้อ เพื่อนำเสนอรายการต่าง ๆ ของการจัดการต้นทุนการจัดซื้อ เพื่อแสดงบทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการความสัมพันธ์กับผู้จัดส่งสินค้า/วัตถุดิบ

3 กระบวนการจัดการซัพพลายเชน การไหลของวัตถุดิบและสินค้า
การไหลของสารสนเทศ Suppliers Procurement / Purchasing Planning & Supply Mgt.. Sales & Marketing Customers Consumer ลูกค้า ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายวางแผน ผู้บริโภค Customer Service /Distribution ฝ่ายบริการลูกค้า/ ฝ่ายบริหารและ จัดส่งสินค้า Production / Factory ฝ่ายผลิต/โรงงาน Up Stream Mid Stream Down Stream การไหลของวัตถุดิบและสินค้า Supply Management Logistics Management

4 ความหมายของการจัดซื้อ
การจัดซื้อ หมายถึง กิจกรรมการซื้อสินค้า ซึ่งกระทำโดยหน่วยงานที่เป็นส่วนหนึ่งแผนกการเงินหรือการคลังของบริษัทโดยกิจกรรมเหล่านี้เป็นงานทั่วไป เพื่อรองรับการดำเนินการจัดซื้อและ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งราคาซื้อของวัตถุดิบ หรือสินค้าที่มีราคาต่ำที่สุด

5 วัตถุประสงค์ในการจัดซื้อ
 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ มิให้วัตถุดิบหรือสินค้าขาดมือ  เพื่อให้ธุรกิจได้รับวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ และสินค้าตามที่ต้องการ โดยยึดหลัก -คุณภาพถูกต้อง -ปริมาณเหมาะสม -ราคาเหมาะสม -ในเวลาอันสมควร -จากผู้จำหน่ายที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้เงินจมอยู่ในสินค้าคงเหลือมากเกินไป เพื่อไม่ต้องเสี่ยงภัยกับความล้าสมัย และการเสื่อมคุณภาพของสินค้า

6 วัตถุประสงค์ในการจัดซื้อ
 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้จำหน่ายที่จะช่วยให้ธุรกิจมีข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบวัสดุอุปกรณ์ สินค้าชนิดใหม่ ราคาใหม่ และบริการพิเศษต่างๆ  เพื่อให้ได้ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานต่างๆ ในองค์การธุรกิจ

7 กำหนดผู้ที่ได้รับมอบหมายในการจัดซื้อ
อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดซื้อ กำหนดผู้ที่ได้รับมอบหมายในการจัดซื้อ กำหนดอำนาจของผู้ที่ได้รับมอบหมายในการจัดซื้อ ข้อจำกัดในการจัดซื้อ กระบวนการและการอนุมัติในการจัดซื้อ วงเงินในการจัดซื้อ ผู้จัดซื้อและความยุติธรรมในการทำหน้าที่ในการจัดซื้อ

8 ข้อควรพิจารณาในการจัดซื้อ
คุณภาพ การซื้อสินค้านั้นต้องให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพตามที่ต้องการ โดยอาจไม่ใช่คุณภาพที่ดีที่สุด แต่ต้องเหมาะสมกับการใช้ การซื้อสินค้าที่มีคุณภาพดีเกินความจำเป็นจะทำให้ต้นทุนสูง แต่ถ้าซื้อสินค้าที่มีคุณภาพต่ำเกินไป ก็จะทำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพเพียงพอ ปริมาณ การจัดซื้อควรอยู่ในปริมาณที่เหมาะสม การซื้อสินค้าที่มีปริมาณมากเกินไป ย่อมทำให้เงินจมอยู่ในสินค้าและเกิดปัญหาสินค้าคงเหลือ เป็นภาระแก่การเก็บรักษาและการเสื่อมคุณภาพ แต่ถ้าซื้อในปริมาณน้อยเกินไป ก็ทำให้ต้องสั่งซื้อบ่อยครั้ง ทำให้ค่าใช้จ่ายมากขึ้น อาจเป็นผลให้สินค้าขาดแคลนไม่อาจผลิตได้ทันเวลา ราคา ราคาที่เหมาะสมไม่จำเป็นต้องเป็นราคาที่ถูกที่สุด แต่เป็นราคาที่ดีที่สุดตามคุณภาพสินค้าที่ได้กำหนดไว้ งานการจัดซื้อจึงต้องตรวจสอบเสียก่อนว่า สินค้ามีคุณภาพตรงกับความต้องการหรือไม่ เมื่อเห็นว่าคุณภาพตรงกับความต้องการแล้วจึงตรวจสอบราคา โดยพยายามเปรียบเทียบจากผู้แทนจำหน่ายหลายๆราย หรือใช้การประกวดราคา ในการพิจารณาราคาที่ยุติธรรมนั้น ธุรกิจอาจใช้ความสัมพันธ์ระหว่างราคากับต้นทุน ราคาตลาด หรือราคาจากการแข่งขันเป็นเกณฑ์

9 ข้อควรพิจารณาในการจัดซื้อ
เวลา การจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นการซื้อในเวลาอันสมควรเพื่อให้มีสินค้าพร้อมที่จะจำหน่าย และไม่ให้สินค้าคงเหลือมากเกินไปด้วย ในการจัดซื้อสินค้าที่มีปริมาณมากเป็นประจำ ราคาคงที่ การเปลี่ยนแปลงมีน้อย ผู้ซื้อสามารถจัดซื้อเมื่อไรก็ได้ตามที่ต้องการ โดยไม่จำเป็นต้องซื้อจำนวนมาก แต่ถ้าสินค้านี้มีปริมาณไม่แน่นอนและราคาขึ้นลงอย่างรวดเร็ว ผู้ซื้อต้องพิจาณาอย่างรอบครอบ เพื่อให้ได้สินค้าในเวลาที่ต้องการในราคาที่เหมาะสม โดยบางครั้งอาจต้องซื้อล่วงหน้าเมื่อคาดว่าราคาจะสูงขึ้น หรือซื้อเกินกว่าปริมาณที่ต้องการเมื่อคาดว่าสินค้าจะขาดแคลน เป็นต้น ผู้จัดจำหน่าย การคัดเลือกผู้จำหน่ายเป็นปัจจัยที่สำคัญอีกปัจจัยหนึ่งของการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ ผู้จำหน่ายควรเป็นผู้ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อในเรื่องคุณภาพ ปริมาณ ราคา และเวลาได้ ทั้งนี้ผู้ซื้อต้องหาแหล่งสินค้าหรือวัตถุดิบที่เหมาะสม โดยหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แล้วจึงนำมาเปรียบเทียบกันในแง่ของคุณภาพ ราคา และการบริการ

10 ปัจจัยที่เลือกผู้จำหน่าย/1
ความต่อเนื่องและความเชื่อถือได้ เป็นการประเมินแหล่งสินค้าหรือวัตถุดิบนั้นว่ามีปริมาณสินค้าหรือวัตถุดิบมากเพียงพอในเวลาที่ผู้ซื้อต้องการหรือไม่ และสามารถจัดส่งได้ในเวลาที่กำหนดเพียงใด การให้บริการ เป็นการเปรียบเทียบบริการหลังการขาย การบำรุงรักษา ซึ่งอาจสอบถามจากผู้แทนจำหน่ายหรือผู้ที่เคยซื้อจากแหล่งอื่นๆ จำนวนผู้จำหน่าย ผู้ซื้ออาจเลือกซื้อจากผู้จำหน่ายรายเดียว เพื่อให้ได้รับบริการเป็นพิเศษรวมทั้งได้ส่วนลด หรือซื้อจากผู้จำหน่ายหลายราย เพื่อเป็นทางเลือกในการซื้อสินค้าได้

11 ปัจจัยที่เลือกผู้จำหน่าย/2
สถานที่ตั้ง ถ้าผู้จำหน่ายอยู่ไกลอาจมีปัญหาการขนส่งซึ่งมีค่าใช้จ่ายและเวลา แต่ถ้าอยู่ใกล้การจัดส่งจะทำได้ง่ายกว่า เงื่อนไขการชำระเงิน ผู้ซื้อควรเลือกผู้จำหน่ายที่เสนอเงื่อนไขให้ประโยชน์มากที่สุด เช่นส่วนลดเงินสด หรือการเลื่อนเวลาชำระเงินหลังการส่งสินค้า ตัวแทนจำหน่าย การใช้บริการตัวแทนจำหน่าย ช่วยให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับราคาและคุณสมบัติต่างๆ ของสินค้าได้รวดเร็ว ถูกต้องและสะดวกในการสั่งซื้อ และตัวแทนจำหน่ายยังเป็นผู้ให้คำแนะนำที่ดีในเรื่องปริมาณสินค้าคงเหลือ การจัดแสดงสินค้า และช่วยแก้ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับสินค้าด้วย

12 การประหยัดในงานจัดซื้อ
การส่งเสริมการประหยัดด้านการจัดซื้อ ทำได้หลายวิธี เช่น การใช้วัตถุดิบที่ถูกกว่ามาทดแทน โดยไม่ทำให้คุณภาพสินค้าเสียไป การปรับปรุงคุณภาพของสินค้า การหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ๆ การใช้การขนส่งขนาดใหญ่มากขึ้น การประหยัดจากการสั่งซื้อปริมาณมาก การลดราคาต่อหน่วยจากการเจรจาต่อรอง การริเริ่มการศึกษาว่าจะผลิตเองหรือซื้อ การนำเทคนิคการจัดซื้อใหม่ๆมาใช้

13 ความพึงพอใจของลูกค้า
คุณภาพ ต้นทุน การส่งมอบ บริการ ปริมาณ กลยุทธ์ องค์กร รูปที่ 9-2 ความพึงพอใจของลูกค้าขึ้นอยู่กับการดำเนินงานของผู้จัดส่งวัตถุดิบ

14 องค์กร คุณภาพ ต้นทุน การส่งมอบ บริการ ปริมาณ กลยุทธ์ ผู้จัดส่งวัตถุดิบ รูปที่ 9-2 ความพึงพอใจของลูกค้าขึ้นอยู่กับการดำเนินงานของผู้จัดส่งวัตถุดิบ(ต่อ)

15 รูปที่ 9-3 ภาพรวมของการไหลของข้อมูลภายในจากการจัดซื้อ
ร้านค้า การสั่งซื้อ รายการสินค้าที่มี การตัดยอด การจัดการระดับสูง ค่าใช้จ่าย กลยุทธ์ วิศวกรรม/การวิจัย และพัฒนา ความพอเพียงของ ผู้จัดส่งวัตถุดิบ การมีวัตถุดิบล่วงหน้า การดำเนินงาน/การผลิต ความพอเพียงของวัตถุดิบ เวลาในการส่งมอบ คุณภาพ ประวัติคุณภาพ ของผู้ส่งวัตถุดิบ การจัดซื้อ โลจิสติกส์ ความต้องการ การขนส่งขาเข้า การจัดส่งคำสั่งซื้อ ไปยังคลังสินค้า รูปที่ 9-3 ภาพรวมของการไหลของข้อมูลภายในจากการจัดซื้อ

16 รูปที่ 9-3 ภาพรวมของการไหลของข้อมูลภายในจากการจัดซื้อ
กฎหมาย ข้อผูกมัดของสัญญา การตลาด/การขาย ต้นทุนการส่งเสริม การจำหน่ายพิเศษ สภาพของตลาด การประชาสัมพันธ์ การแจ้งข่าวต่อ ลูกค้ารายย่อย การประกาศแหล่งของ การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การบัญชี งบประมาณ ข้อผูกมัด/สัญญากับ ผู้จัดส่งวัตถุดิบ ต้นทุน/ราคา ต้นทุนบริการสินค้าใหม่ ผู้ใช้ สถานะของคำสั่งซื้อ การนำเสนอการ เปรียบเทียบ ระบบข้อมูล ความต้องการในข้อมูล รวมทั้งเทคโนโลยีใหม่ การติดต่อกับผู้จัดส่ง วัตถุดิบ รูปที่ 9-3 ภาพรวมของการไหลของข้อมูลภายในจากการจัดซื้อ

17 รูปที่ 9-4 ระยะต่าง ๆ ของการพัฒนา และการจัดการด้านความสัมพันธ์
ระยะที่ 1 : ระยะเริ่มต้น กำหนดความต้องการในการจัดซื้อ กำหนดคณะทำงาน ระยะที่ 2 : กำหนดผู้จัดส่งวัตถุดิบ พิจารณาแนวทาง/ปัจจัยในการคัดเลือก กำหนดผู้จัดส่งที่เป็นไปได้ ระยะที่ 3 : กลั่นกรองและคัดเลือก ติดต่อผู้จัดส่งที่คาดไว้ ประเมินผู้จัดส่งแต่ละราย คัดเลือก รูปที่ 9-4 ระยะต่าง ๆ ของการพัฒนา และการจัดการด้านความสัมพันธ์ ของการจัดซื้อ ระยะที่ 4 : กำหนดความสัมพันธ์ กำหนดเอกสาร กำหนดระดับการให้ความสนใจ การให้ข้อมูลย้อนกลับ ระยะที่ 5 : ประเมินความสัมพันธ์ ความต่อเนื่องของระดับความสัมพันธ์ในปัจจุบัน การขยาย/เสริมสร้างความสัมพันธ์ การลด/เลิกความสัมพันธ์

18 ตารางที่ 9-1 การประเมินผู้จัดส่งวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิต
ปัจจัย ระดับของผู้จัดส่งสินค้า/วัตถุดิบ(1=ระดับที่ต่ำที่สุด ; 5=ระดับที่สูงที่สุด) ความสำคัญของปัจจัยต่อองค์กร(0=ไม่มีความสำคัญ ; 5=มีความสำคัญมากที่สุด) น้ำหนักรวม (0=ต่ำสุด; =สูงสุด) ผู้จัดส่ง ก ความเชื่อถือได้ของผลิตภัณฑ์ ราคา ความสะดวกในการสั่งซื้อ บริการหลักการขาย - คะแนนรวมทั้งหมดสำหรับผู้จัดส่ง ก ผู้จัดส่ง ข บริการหลังการขาย - คะแนนรวมทั้งหมดสำหรับผู้จัดส่ง ข ตารางที่ 9-1 การประเมินผู้จัดส่งวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิต

19 ตารางที่ 9-1 การประเมินผู้จัดส่งวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิต(ต่อ)
ปัจจัย ระดับของผู้จัดส่งสินค้า/วัตถุดิบ (1=ระดับที่ต่ำที่สุด ; 5=ระดับที่สูงที่สุด) ความสำคัญของปัจจัยต่อองค์กร(0=ไม่มีความสำคัญ ; 5=มีความสำคัญมากที่สุด) น้ำหนักรวม (0=ต่ำสุด; =สูงสุด) ผู้จัดส่ง ค ความเชื่อถือได้ของผลิตภัณฑ์ ราคา ความสะดวกในการสั่งซื้อ บริการหลังการขาย - คะแนนรวมทั้งหมดสำหรับผู้จัดส่ง ค ตารางที่ 9-1 การประเมินผู้จัดส่งวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิต(ต่อ)

20 ตารางที่ 9-3 คำถามด้านกลยุทธ์อุปทาน
1.อะไร ผลิตหรือซื้อ มาตรฐานกับพิเศษ คุณภาพกับต้นทุน 5. เมื่อไหร่? ราคาพิเศษ ราคามาตรฐาน ราคาต่ำ ราคาต้นทุน เช่าซื้อ/ผลิต/ซื้อ 2. คุณภาพ? คุณภาพกับต้นทุน การมีส่วนร่วมของผู้จัดส่งวัตถุดิบ 6. ราคาเท่าไหร่? ราคาพิเศษ ราคามาตรฐาน ราคาต่ำ ราคาต้นทุน เช่าซื้อ/ผลิด/ซื้อ 3. เท่าไหร่? มากกับน้อย(ปริมาณสินค้าคงคลัง) รวมอำนาจหรือกระจายอำนาจ คุณภาพของพนักงาน การมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูง

21 ตารางที่ 9-3 คำถามด้านกลยุทธ์อุปทาน(ต่อ)
7. ที่ไหน? ในท้องถิ่นหรือภูมิภาค ในประเทศหรือต่างประเทศ ใหญ่หรือเล็ก แหล่งเดียวหรือหลายแหล่ง การหมุนเวียนของผู้จัดส่งสูง/ต่ำ ความสัมพันธ์กับผู้จัดส่ง การรับรองผู้จัดส่ง ความเป็นเจ้าของผู้จัดส่ง 8. อย่างไร? ระบบและกระบวนการ ระบบคอมพิวเตอร์ การเจรจาต่อรอง การประมูลแข่งขัน การประกวดราคา คำสั่งซื้อเปิด ระบบสัญญา ระบบการตรวจสอบ การซื้อเป็นกลุ่ม การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ สัญญาระยะยาว คุณธรรม การรุกหรือการรับ การวิจัยการสั่งซื้อ การวิเคราะห์คุณค่า 9. ทำไม? วัตถุประสงค์ที่สมเหตุสมผล เหตุผลของการตลาด เหตุผลภายใน ก.ผู้จัดส่งภายนอก ข.ผู้จัดส่งภายใน

22 ตารางที่ 9-4 ต้นทุนเป็นร้อยละของรายได้ทั้งหมดของกิจการ
ต้นทุนสินค้า ร้อยละ แรงงาน วัตถุดิบซื้อมา ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม 5 55 10 70% การลดต้นทุนลงร้อยละ 10 ในแต่ละรายการจะทำให้เกิด : ส่วนลดทั้งหมด วัตถุดิบซื้อ .5% 5.5% 1.0% 7.0%

23 รูปที่ 9-5 ประเภทของความสัมพันธ์ ขอบเขตของความร่วมมือ
ประเภทที่ 2 การร่วมทุน ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 3 การรวมตัวในแนวดิ่ง หุ้นส่วน

24 รูปที่ 9-6 กระบวนการของพันธมิตร
ตัดสินใจสร้าง หรือปรับปรุง หุ้นส่วน/พันธมิตร ตัวขับเคลื่อน เหตุผล/เกณฑ์สำหรับหุ้นส่วน/พันธมิตร ตัวส่งเสริม ปัจจัยแวดล้อมสนับสนุนการเจริญเติบโตของหุ้นส่วน/พันธมิตร องค์ประกอบ กิจกรรมร่วมและกระบวนการที่สร้างและรักษาหุ้นส่วน/พันธมิตร กำหนดความ คาดหวังในผลลัพท์ ข้อมูลย้อนกลับสู่ : องค์ประกอบตัวขับเคลื่อนตัวส่งเสริม ผลลัพธ์ ขอบเขตที่การปฏิบัติงาน บรรลุความคาดหวัง

25 ระบบการจัดซื้อด้วยอิเล็กทรอนิกส์ E-Procurement
E-Procurement คือ กระบวนการจัดหาสินค้าและบริการที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อปรับปรุงให้กระบวนการทำงานมีการเชื่อมโยงอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว และประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายโดยรวม โดยระบบจะเชื่อมโยงขั้นตอนที่เกิดขึ้นภายในระบบขององค์กร (ERP: Enterprise Resource Planning) ซึ่งเริ่มจากการจัดทำคำขอใบคำขอเสนอซื้อหรือขาย (RFQ: Request for Quotation, RFP: Request for Proposal) จนถึงการรับสินค้า (Goods Receive) และรวมไปถึงการเชื่อมต่อกับ Supplier ผ่าน Marketplace เพื่อซื้อ-ขายผ่าน Online Catalogue

26 เหตุผลที่ต้องทำ E-Procurement
   1. เป็นมิตรกับธุรกิจขนาดเล็ก (Small-Business Friendly) เพียงแค่ธุรกิจนั้นๆ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมอินเตอร์เน็ตเป็นการเพิ่มเวทีการ แข่งขันไปสู่ธุรกิจขนาดเล็ก และให้โอกาสธุรกิจขนาดเล็กเข้าถึงการจัดซื้อของรัฐ    2. ลดขั้นตอนที่ต้องใช้กระดาษในการติดต่อและทำธุรกรรม    3. สามารถปรับปรุงการจัดซื้อให้ดีขึ้นได้ตลอดเวลา ด้วยการบันทึกข้อมูลการจัดซื้อ และการแข่งขัน ของผู้ค้าต่างๆ เป็นการช่วยสร้างฐานข้อมูลในการปรับปรุงการจัดซื้อ ครั้งต่อๆ ไป    4. ลดระยะเวลาในการจัดซื้อ เนื่องจากดำเนินการแบบ Real Time บนอินเตอร์เน็ต การเสนอราคา ต่อหน่วยราชการก็ทำกันบนฐานของนาที แทนที่จะเป็นวันหรือสัปดาห์ ในแบบเดิม ผลที่ได้รับคือ ลดงบประมาณที่ใช้ในการบริหารการจัดซื้อลง %

27 ประโยชน์ในการใช้บริการของผู้ซื้อและผู้ขาย
ประโยชน์ของผู้ซื้อ (Buyer) ประโยชน์ของผู้ขาย (Supplier) 1.  ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ และสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้ขายขนาดใหญ่ในแต่ละอุตสาหกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น 1.   สร้างโอกาสทางการค้าที่มีศักยภาพในการเข้าถึงกลุ่มผู้ซื้อรายใหม่ เพิ่มยอดขายและช่วยให้การระบายสต็อกสินค้าทำได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น 2.  เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดหาสินค้า โดยทำให้การจัดซื้อมีความโปร่งใสมากขึ้น ลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการต่อรองสินค้า ทั้งยังช่วยให้การวางแผนกระบวนการจัดซื้อจัดหาในองค์กรให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2.   ช่วยให้การวางแผนการผลิตในโรงงานทำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ช่วยให้การจัดซื้อวัตถุดิบมีความรอบคอบและรัดกุมยิ่งขึ้น ส่งผลในเกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิตและการจัดเก็บสินค้าคงคลัง

28 ประโยชน์ในการใช้บริการของผู้ซื้อและผู้ขาย
ประโยชน์ของผู้ซื้อ (Buyer) ประโยชน์ของผู้ขาย (Supplier) 3.สามารถเปรียบเทียบราคาที่เสนอได้อย่าง สะดวกสบาย ซื้อสินค้าในราคาที่คุณพอใจ 3. เพิ่มโอกาสในการขายสินค้าจำนวนมากในแต่ละคราวในราคาที่เหมาะสม ยุติธรรม สอดคล้องกับสภาพความต้องการที่แท้จริง 4. เพิ่มโอกาสตรวจสอบคุณภาพของสินค้า / สามารถคัดเลือกซัพพลายเออร์ที่มีคุณภาพ

29

30

31

32

33 Body Language and Gestures
Who is supplier VS customer ? Customer Supplier


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google