งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)

2 รายงานการวิจัยของกองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ศึกษาปัญหาความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อต่อ เนื่องจากการทำงาน ศึกษาในโรงงานอุตสาหกรรม 300 แห่ง ใน 48 จังหวัดทั่วประเทศ สัมภาษณ์คนงาน 2,595 คนถึงอาการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ร้อยละ 78.5 มีอาการปวดเมื่อย ---> ร้อยละ 52.4 มีอาการปวดหลังส่วนบั้นเอว (low back pain) ร้อยละ 57.5 ทราบถึงสาเหตุของปัญหา ---> ร้อยละ 2.6 แก้ไขปัญหาที่สาเหตุ, ร้อยละ 34.5 ไม่ดำเนินการแก้ไข, ร้อยละ 25.1 ซื้อยากินเอง

3 คำจำกัดความ โรคปวดหลังส่วนล่าง หมายถึง อาการปวดหลังระหว่างกระดูกซี่โครงซี่สุดท้ายจนถึงขอบก้นด้านล่าง (สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย) โรคปวดหลังส่วนล่าง หมายถึง อาการปวดที่จำกัดอยู่เฉพาะหลังและบั้นเอวส่วนล่างและรวมถึงการปวดหลังร่วมกับอาการปวดขา (ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย)

4 ส่วนประกอบของหลัง 1. กล้ามเนื้อหลัง

5 ส่วนประกอบของหลัง 2. กระดูกสันหลัง

6 ส่วนประกอบของหลัง 3. หมอนรองกระดูก

7 ส่วนประกอบของหลัง

8 ส่วนประกอบของหลัง

9 ส่วนประกอบของหลัง 4. เส้นประสาทไขสันหลัง

10 สาเหตุของโรคปวดหลัง ความผิดปกติของกระดูกสันหลังตั้งแต่กำเนิด
การบาดเจ็บ เช่น กระดูกหัก ข้อเคลื่อน เนื้องอก ของเนื้อเยื่อ กระดูก และเส้นประสาท เกิดการติดเชื้อ เช่น วัณโรคกระดูกสันหลัง โรคเนื้อเยื่ออักเสบ เช่น โรคเกาท์ โรคทางเมตาบอริก เช่น โรคกระดูกพรุน โรคกระดูกสันหลังเสื่อม ---> สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด อาการปวดหลังจากโรคส่วนอื่น เช่น โรคไต

11 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด
โรคกระดูกสันหลังเสื่อม เช่น โรคกล้ามเนื้อเครียด (Muscle strain) โรคข้อฟาเซท ( facet joint syndrome) โรคหมอนรองกระดูกเสื่อม (Degeneration disc) โรคหมอนรองกระดูกสันหลังยื่น (Herniated disc) โรคกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal stenosis) โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolithesis)

12 การทำงานก้มๆเงยๆ ทำให้เอวแอ่นมากขึ้น
การทำงานก้มๆเงยๆ ทำให้เอวแอ่นมากขึ้น

13 ภาพแสดงแรงที่กล้ามเนื้อหลังต้องออกแรงดึงพุง

14 ภาพแสดงช่องทางออกของเส้นประสาท
ท่าแอ่นหลัง ท่างอตัว

15 โรคกล้ามเนื้อเครียด (Muscle strain)
มีสาเหตุมาจากการใช้กล้ามเนื้อหลังมากไป การใช้กล้ามเนื้อหลังผิดวิธี ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหลังเฉพาะที่ ไม่มีอาการชาขา กดหลังจะปวด การไอ จาม บิดตัว เอี้ยวตัวอาจทำให้ปวดมากขึ้น

16 หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
การรับน้ำหนักในท่าที่ให้ความดันภายในหมอนรองกระดูกสูง เกิดการฉีกขาดภายในของ Annulus fibrosus Nucleus pulposus มักหลุดออกมาบริเวณข้าง ๆ รากประสาทถูกเบียดทำให้เกิดการชาที่ขา กล้ามเนื้ออ่อนแรง

17 ลักษณะของหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท (Herniated disc)

18 ความดันต่อหมอนรองกระดูกในท่าทางต่างๆ
275 kg. 214 kg. 200 kg. 150 kg. 144 kg. 100 kg. 75 kg.

19 การกระจายของแรงในหมอนรองกระดูก
ภาวะปกติ, nucleus จะกระจายแรงอย่างสม่ำเสมอสู่บริเวณรอบๆ หมอนรองกระดูกเริ่มเสื่อม, สูญเสียความสามารถในการรับน้ำหนักส่งผ่านแรงที่ไม่สม่ำเสมอสู่บริเวณรอบๆ หมอนรองกระดูกเริ่มเสื่อมขั้นรุนแรง,หมอนรองกระดูกไม่สามารถรับน้ำหนักได้ นำไปสู่การยื่นของหมอนรองกระดูกไปทับเส้นประสาท

20 ภาพแสดงการกระจายตัวของแรง บนหมอนรองกระดูกสันหลังบริเวณเอว
ท่าที่ผิด ท่าที่ถูกต้อง

21 กฎกระทรวง กำหนดอัตราน้ำหนักที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานได้ พ.ศ. 2547
ข้อ 1 ให้นายจ้างใช้ลูกจ้างทำงานยก แบก หาม ทูน ลาก หรือเข็นของ หนักไม่เกินอัตราน้ำหนักโดยเฉลี่ยต่อลูกจ้างหนึ่งคน ดังต่อไปนี้ (1) ลูกจ้างหญิง อายุตั้งแต่ 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี ไม่เกิน 20 กิโลกรัม (2) ลูกจ้างชาย อายุตั้งแต่ 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี ไม่เกิน 25 กิโลกรัม (3) ลูกจ้างหญิง ไม่เกิน 25 กิโลกรัม (4) ลูกจ้างชาย ไม่เกิน 50 กิโลกรัม

22 โรคกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal stenosis)
เกิดจากการซ่อมแซมกระดูกสันหลังหลังจากเกิดการเสื่อม หรือเมื่อเกิดการบาดเจ็บ ช่องว่างของกระดูกสันหลังแคบลง อาการปวดหลังและชาขาทั้ง 2 ข้างเวลาเดิน

23 ลักษณะของกระดูกสันหลังตีบแคบ

24 การรักษาอาการปวดหลัง
การรักษาโดยไม่ต้องผ่าตัด การผ่าตัด

25 การรักษาโดยไม่ต้องผ่าตัด
การใช้ยา การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เครื่องมือช่วยพยุง กายภาพบำบัด

26 การป้องกันการปวดหลัง
การฝึกการใช้ท่าทางที่ถูกต้อง การบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลัง

27 ท่ายืนที่ถูกต้อง

28 ท่านั่งที่ถูกต้อง

29 ท่านั่งขับรถที่ถูกต้อง

30 ท่ายกของที่ถูกต้อง

31 ท่านอนที่ถูกต้อง

32 การบริหารกล้ามเนื้อ เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

33 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 1 บริหารกล้ามเนื้อหลัง สะโพก ต้นขา 

34 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 2  บริหารกล้ามเนื้อหลัง และสะโพก

35 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 3    บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพก

36 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพก

37 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 4      บริหารกล้ามเนื้อท้อง

38 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 5   บริหารกล้ามเนื้อสะโพก และหลัง

39 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ   ท่าที่ 1

40 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ   ท่าที่ 2

41 ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ   ท่าที่ 3

42 “ดูแลสุขภาพหลังของคุณในวันนี้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในวัยชรา”


ดาวน์โหลด ppt โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google