การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์เชิงรุก แผนกลยุทธ์ การถ่ายทอดแผน และการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และ แนวทางการบริหารจัดการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ โดย ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล รองอธิการบดีฝ่ายแผนงาน บริหารการเงินและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ปรึกษาเครือข่ายการวางแผนอุดมศึกษา

2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ.ศ ) การจัดทำแผนกลยุทธ์ในแต่ละสถาบัน การจัดงบประมาณตามหมวดรายจ่าย vs. ตามยุทธศาสตร์ การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการประจำปี การติดตามผลการดำเนินการ การจัดงบประมาณและการติดตามการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ในแต่ละสถาบัน ความโปร่งใสในการบริหารงบประมาณ

3 การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ. ศ
การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ.ศ )

4 กรอบแนวคิดการจัดทำแผนฯ 12
จัดทำแผนฯ 12 ให้เป็นแผนเชิงกลยุทธ์ ให้ความสำคัญกับปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่เปลี่ยนแปลง (Outside In) ใช้ข้อมูลประกอบการพิจารณา (Factual based) กำหนดยุทธศาสตร์ตามพันธกิจและยุทธศาสตร์เชิงรุก ตัวชี้วัดตามพันธกิจและตัวชี้วัดเชิงรุก ใช้แนวทาง EdPEx เป็นเครื่องมือในการพัฒนามหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ

5 ขั้นตอนการจัดทำแผนฯ 12 แต่งตั้งทีมคณะทำงานจัดทำแผนฯ 12 (36 ท่าน จาก 27 ส่วนงาน) ประชุมคณะทำงานจัดทำแผนฯ 12 จำนวน 11 ครั้ง (22 ต.ค. 58 ถึง 19 มี.ค. 59) ทบทวนบริบทภายนอก สถานะปัจจุบันและผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิเคราะห์ SWOT สัมภาษณ์กรรมการสภามหาวิทยาลัย จำนวน 19 ท่าน สัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ นักศึกษาเก่า, ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย, ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ, ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่, ประธานหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่, นักศึกษาและบุคลากร (จากการประเมิน ม.ในกำกับ มช. 2558)

6 วิธีการดำเนินการจัดทำ (ร่าง) แผนฯ 12
กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ และโอกาสทางกลยุทธ์ จัดทำ (ร่าง) แผนฯ 12 เสนอ (ร่าง) แผนฯ 12 ในการสัมมนาระดมความคิดเห็นเชิงนโยบาย (Retreat) ระหว่างสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารฯ โดยสภามหาวิทยาลัยได้เห็นชอบกรอบแผนฯ 12 (5 มี.ค. 59) ส่วนงานให้ความเห็น (ร่าง) แผนฯ 12 (เม.ย. – พ.ค. 59) คณะทำงานฯ ปรับปรุง กลยุทธ์ ตัวชี้วัดใน (ร่าง) แผนฯ 12 (3-5 มิ.ย. 59) เสนอ (ร่าง) แผนฯ 12 ในการประชุมสัมมนาผู้บริหารมหาวิทยาลัย ประจำปี 2559 (25 – 26 มิ.ย. 59) นำเสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติแผนฯ 12 (26 มิ.ย. 59) คณะทำงานฯ จัดทำแผนฯ 12 ฉบับสมบูรณ์ตามความเห็นสภามหาวิทยาลัย (ก.ค. 59) เริ่มใช้แผนฯ 12 (1 ต.ค. 59)

7 ปฏิทินการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ. ศ
ปฏิทินการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ.ศ ) เสนอ (ร่าง) แผนฯ 12 ในการสัมมนาระหว่าง สภามหาวิทยาลัยและ ผู้บริหารฯ (Retreat) ให้ความเห็น รับฟังความเห็นของลูกค้าที่สำคัญ (VOC) / ผู้ทรงคุณวุฒิ (VOS) / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (VOS) เสนอต่อ สภามหาวิทยาลัย พิจารณาอนุมัติ ทีมคณะทำงานปรับปรุง แผนฯ 12 จัดทำแผนฯ ฉบับสมบูรณ์ ธ.ค. 58 – ม.ค. 59 3 – 6 มี.ค. 59 มิ.ย. 59 26 มิ.ย. 59 ก.ค. 59 2558 2559 ต.ค. 58 – ม.ค. 59 ม.ค.-ก.พ. 59 เม.ย. – พ.ค. 59 25-26 มิ.ย. 59 ก.ค. 59 1 ต.ค. 59 สรุปแผนฯ 12 ในการประชุมสัมมนาผู้บริหารฯ ประจำปี ปรับแผน งบประมาณ เงินรายได้ปี 60 ทีมคณะทำงานฯ ทบทวนประเด็นปัจจัยภายนอก-ภายใน SWOT Analysis จัดทำ (ร่าง) แผนฯ 12 (ร่าง) แผนฯ 12 ให้ส่วนงานและนักศึกษาให้ความเห็น เริ่มใช้แผนฯ

8 ทบทวนบริบทที่สำคัญ บริบทภายนอก บริบทภายใน
ร่าง กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) ร่าง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 Re-profiling Thai Higher Education (ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร) เอกสารทบทวนบริบทประเทศโดยผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละด้าน เสนอต่อคณะอนุกรรมการจัดทำกรอบแผนอุดมศึกษา 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ ) ข้อคิดเห็นจากการ VOS บริบทภายใน สรุปประเมินผลการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2558 ผลการประเมินการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาฯ ระยะที่ 11 ปี 2555 – 2557 ข้อคิดเห็นคณบดี ผู้อำนวยการสถาบัน/สำนัก ต่อการทบทวนและปรับแผนฯ 11 ครึ่งแผน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย รายงานผลการตรวจประเมิน CMU EdPEx ปีการศึกษา 2557 ข้อคิดเห็นจากการ VOC

9 เทคโนโลยี/นวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว
บริบทภายนอกประเทศ การเข้าสู่สังคม สูงวัยของโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วาระการพัฒนาของโลกภายหลัง ค.ศ. 2015 เงื่อนไข เศรษฐกิจโลก สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ความ สามารถใน การแข่งขันของประเทศลดลง บริบทภายในประเทศ Mega Projects รายได้ที่ เหลื่อมล้ำ ความเสื่อมถอย ทางวัฒนธรรม ภัยพิบัติธรรมชาติ กับดักประเทศ ที่มีรายได้ระดับ ปานกลาง Super Cluster : 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จริยธรรมและ ธรรมาภิบาล ชุมชนเข้มแข็งช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ปัญหาเชิงคุณภาพด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม QS Ranking by Subject 2015 Agriculture & Forestry Medicine Modern Languages Biological Sciences สถานะปัจจุบันมช. ล้านนา หลักสูตรทั้งหมด 317 หลักสูตร - ป.ตรี ป.โท 152 - ป.เอก 69 การท่องเที่ยว ปี 2557 ดำเนินการสอนนักศึกษา จำนวน 37,290 คน เป็นระดับปริญญาตรี 28,062 คน และระดับบัณฑิตศึกษา 8,852 คน พลังงานและสิ่งแวดล้อม อัตราส่วน นศ. ป.ตรี : บัณฑิต3 : 1 การค้า การลงทุน วิจัยรับใช้สังคม 4 CC 7 SA 5 SO

10 ปณิธานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในส่วนภูมิภาคจัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐ และเจตนารมณ์ของประชาชนในภาคเหนือให้เป็นศูนย์กลางทางวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง เพื่ออำนวยประโยชน์แก่ท้องถิ่นและประเทศชาติโดยส่วนรวม มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นแหล่งสะสม ค้นคว้า วิจัย และถ่ายทอดความรู้ ตามหลักแห่งเสรีภาพทางวิชาการ โดยยึดมั่นในสัจ ธรรมและคุณธรรม เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ การประยุกต์ เผยแพร่ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตแห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พึงฝักใฝ่ใน การฝึกฝนตน เป็นผู้รู้จริง คิดเป็น ปฏิบัติได้ สามารถครองตน ครองคน ครองงาน ด้วย มโน ธรรมและจิตสำนึกต่อสังคม ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ

11 กรอบการพิจารณายุทธศาสตร์
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) บริบท ที่สำคัญ ภายใน ประเทศ บริบท ภายนอก ประเทศ ความโดดเด่น ของ มช. นโยบาย รัฐบาล ยุทธศาสตร์ มช. ที่ตอบโจทย์ประเทศ

12 Environment and Energy Creative & Innovation Lanna
Roadmap ยุทธศาสตร์ 5 ปี ยุทธศาสตร์เชิงรุก มหาวิทยาลัยชั้นนำ รับผิดชอบต่อสังคม และสร้าง การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่ยั่งยืน Renewable Energy Sustainable environment Cultural and Green Food Innopolis Medical Hub Aging Environment and Energy Food and Health Creative & Innovation Lanna ยุทธศาสตร์ ตามพันธกิจ ผลิตบัณฑิตที่มี คุณธรรม คุณภาพ เป็น Global citizen วิจัยที่เป็นเลิศ บริการวิชาการ ที่เกิดประโยชน์ แก่สังคม Renewable Energy (Bioenergy Solar Energy storage) บัณฑิตที่มีคุณธรรม คุณภาพ Global citizen แสวงหารายได้เพื่อความยั่งยืน บริหารจัดการเชิงบูรณาการ

13 Environment and Energy Creative & Innovation Lanna
ยุทธศาสตร์เชิงรุก มหาวิทยาลัยชั้นนำ รับผิดชอบต่อสังคม และสร้างการพัฒนาสู่ ความเป็นเลิศที่ยั่งยืน Renewable Energy Sustainable environment Cultural and Green Food Innopolis Medical Hub Aging Environment and Energy Food and Health Creative & Innovation Lanna SA 1 SO 1 CC1 เป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ที่มีทุกศาสตร์อยู่ร่วมกัน ทำให้เกิดการทำงานที่เป็นแบบบูรณาการได้ง่าย CC2 จัดการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ทำให้นักศึกษาได้มีโอกาสมาเรียนร่วมกัน และทำให้เกิดโอกาส สร้างนวัตกรรมและหลักสูตรใหม่ CC3 ทำวิจัยบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาสำคัญของสังคมและประเทศ ทำให้เกิดความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทั้งทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ CC4 เครือข่ายเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานทั้งในระดับชาติและนานาชาติ SA 2 SO 2 SA 4 SA 5 SO 3 SA 6 SA 7 SO 4 SO 5

14 ตัวชี้วัดเชิงกลยุทธ์
KPI Framework เป้าประสงค์กลยุทธ์1 Outcome KPI1.1 Output KPI1.1.1 Output KPI1.1.2 Outcome KPI1.2 Output KPI1.2.1 ระดับมหาวิทยาลัย Type Target and Gap Owner Time-bound Quantitative/ Qualitative 6 month / 1 yr / 2 yrs ระดับส่วนงาน

15 แลกเปลี่ยนเรียนรู้: การจัดทำแผนกลยุทธ์ ในแต่ละสถาบัน

16 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มจ. มทส. แผน ฯ 10+5+1 มีแผนฯ 15 ปี
การพัฒนาผู้บริหารระดับกลางในการศักยภาพภายใน การพัฒนาระบบวิจัยสถาบันรองรับการวางแผน การใช้ Delphi survey สะท้อนผลลัพธ์กลยุทธ์ Framework แผนเสนอสภาฯ แบบ Top-Down ลด KPI เพิ่ม Quality มจ. มีแผนฯ 15 ปี แผนฯ 11 เกษตรอินทรีย์ แผนฯ 12 สิ่งแวดล้อม แผนฯ 13 อยู่กับสิ่งแวดล้อม

17 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มจ. มีแผนฯ 15 ปี แผนฯ 11 เกษตรอินทรีย์ อาหารปลอดภัย
ปฏิบัติ แต่ปัญหาการติดตามเชิง Impact ต่อสังคม ขาดการบูรณาการร่วมกันระหว่างสาขา และเชื่อมโยงกับหลักสูตร แผนฯ 12 สิ่งแวดล้อม แผนฯ 13 อยู่กับสิ่งแวดล้อม

18 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ม.ทักษิณ
การปรับมโนทัศน์ผู้บริหาร ให้ใช้ Factual Based เน้น 2 ด้าน การเป็นครูของสังคม การใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนการสอน การวิจัย (บูรณาการ) การหารายได้จาก asset เพื่อสนับสนุน

19 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มจพ. จัดทำด้วยกองแผน กระบวนการ
ฟังเสียงจากกรรมการสภามหาวิทยาลัย สรุปประเด็นเสนอกรรมการนโยบายมหาวิทยาลัย ความคิดเห็นของกรรมการนโยบาย/กรรมการบริหาร ให้ส่วนงานจัดทำแผนฯ ตามนโยบายที่กำหนด การถ่ายทอดแผนฯ ให้กับผู้บริหารระดับปฏิบัติ (หัวหน้าภาควิชา) การจัดสรรงบประมาณตามศักยภาพของฝ่ายปฏิบัติ เพื่อตอบสนองโจทย์ตามแผนฯ มหาวิทยาลัย

20 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ม.บูรพา ให้บุคลากรรู้ Process การทำแผน
ยุทธศาสตร์ 5 ด้าน (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ พัฒนาบุคลากร Green Univ. การบริหารจัดการ)

21 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จุฬา จัดทำแผนฯ ระยะยาว 15 ปี (มี 3 ระยะ)
แผนระยะแรกฯ (เน้น Ranking)

22 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ม.นครพนม มอ. สจล. ความคิดเห็นสภามหาวิทยาลัย
ให้คณบดีเสนอ action Plan ต่อ สภาฯ และทำคำรับรองกับอธิการบดี มอ. รวมแผน ฯ แผนมหาวิทยาลัย แผนฯ อธิการ... การขับเคลื่อนผ่านคำรับรอง ฯ (15 ตัวชี้วัด) สจล. ให้ประชาคมเสนอความคิด ผ่าน KMITL1 27 รุ่น ได้โครงการ 167 โครงการ และสี่ภาพลักษณ์ในอนาคตของ สจล.

23 แลกเปลี่ยนเรียนรู้

24 การจัดงบประมาณตามหมวดรายจ่าย vs. ตามยุทธศาสตร์

25 กระบวนการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณ

26 เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์
การจัดงบประมาณ ตามแบบปกติ การจัดตามหมวดรายจ่าย ตามแผนงาน ตามยุทธศาสตร์ เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กำหนด งบประมาณ กำหนดงบประมาณตามยุทธศาสตร์ และติดตามผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2556 แต่ยังต้องจัดงบประมาณตามหมวดรายจ่ายอยู่

27 งบประมาณรายจ่ายรวมจำแนกตามหมวดรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551-2559
งบประมาณรายจ่ายรวมจำแนกตามหมวดรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ

28 งบประมาณรายจ่ายรวม ตามยุทธศาสตร์พันธกิจมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 - 2559
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

29 งบประมาณในภาพรวมจำแนกตามงบภารกิจประจำและ งบยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2559
11,412,177,600 11,503,624,600 11,920,191,000 12,241,109,700 (86.58) (82.17) 3,234,164,400 2,496,181,100 2,021,041,500 1,768,548,000 (14.50) (13.42) (17.83) ปีงบประมาณ พ.ศ.

30 งบประมาณรายจ่ายเงินรายได้ ของส่วนกลางมหาวิทยาลัย จำแนกตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ล้านบาท ปีงบประมาณ Saturday, November 17, 2018

31 การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการประจำปี
ธ.ค. 58 มหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะทำงาน Scanning Big data รับฟังความเห็นของลูกค้าที่สำคัญ (VOC) / ผู้ทรงคุณวุฒิ (VOS) / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (VOS) (วิเคราะห์ผล) วิเคราะห์ SWOT Analysis กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ Review Vision, Mission, Value, Core Competency จัดทำร่าง แผนกลยุทธ์ โดย กำหนดยุทธศาสตร์เชิงรุก, เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์, กลยุทธ์, ตัวชี้วัด กำหนด KPI Owner และ Data Owner กำหนดเกณฑ์ในการประเมินผล อนุมัติแผน 12 จัดประชุมสัมมนาถ่ายทอดแผนฯ 12 ผ่านเวที กบม. การสัมมนาผู้บริหารประจำปี คณะกรรมการอำนวยการประจำคณะ /ส่วนงาน การเยี่ยมเยือนคณะ/ส่วนงาน ประจำปี ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย จัดทำแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) ระดับมหาวิทยาลัย ระดับส่วนงาน พ.ค. 59 ก.ค. 59 ธ.ค. 58 ธ.ค. 58 ม.ค. 59 ม.ค. 59 ก.พ.-มี.ค. 59 มี.ค. 59 A (PLAN) D (DEPLOY) พ.ค. 59 I (EVALUATI ON) L (IMPLEMEN T) Monitor ทุก 3 เดือน แผนฯ 12: ประเมินผลการดำเนินการตามแผนฯ รายปี ทบทวนแผนฯ 12 ระยะครึ่งแผน (2 ปี ครึ่ง) ประเมินผล Systematic, ประสิทธิภาพ ของแผนระยะยาว 5 ปี ทุก ปีงบประมาณ  จัดสรรทรัพยากร (อัตรากำลัง งบประมาณ เทคโนโลยี) คำรับรองการปฏิบัติงานของส่วนงาน (PA), Faculty Profile แผนบริหารความเสี่ยง Risk Management ควบคุมและกำกับงานตามแผนผ่านผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ (ทุกไตรมาส) ต.ค. 60 ต.ค. 60  ทุก ปีงบประมา ณ 

32 การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการประจำปี
PA

33 การติดตามผลการดำเนินงานตามแผน
Faculty Profile PA (Performance Agreement) ผลการตรวจประเมิน EdPEx ของส่วนงาน ภายใน 32 ส่วนงาน

34

35 Faculty Profiling

36 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : การจัดงบประมาณและ การติดตามการดำเนินการ ตามแผนของแต่ละสถาบัน

37 แลกเปลี่ยนเรียนรู้

38 ความโปร่งใส ในการบริหารงบประมาณ

39 การเปิดเผยผลการดำเนินงาน ให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับรู้เป็นไปตามหลักความโปร่งใส
รายงานผลการบริหารต่อสภาฯ Annual report/University profiling Data set รายงานผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ให้สาธารณชนได้รับรู้ GUR EdPEx รายงานผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ให้ผู้ประเมินคุณภาพฯ

40 Good University Report (GUR)
รายงานกิจการมหาวิทยาลัยต่อสาธารณะ “University Public Report”

41 Good University Report โดย อาจารย์ ธนิตสรณ์ จิระพรชัย

42 หลักแห่งธรรมาภิบาล หลักนิติธรรม Rule of Law
กฎ กติกาที่ใช้ในการบริหารงานภายใน หลักความโปร่งใส และกระจายอำนาจ Transparency & Decentralization การสร้างความไว้วางใจ ปรับปรุงกลไก การบริหารให้โปร่งใส ในการตัดสินใจ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร หลักความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล Effectiveness & Efficiency ความมีประสิทธิภาพ การนำเทคโนโลยีมาใช้ พัฒนาความสามารถของบุคลากร อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง หลักคุณธรรม ความเสมอภาค และเน้นฉันทามติ Equity & Consensus Oriented ความถูกต้องดีงาม ความซื่อสัตย์จริงใจ ขยันอดทน มีระเบียบวินัย ความยุติธรรม ความเท่าเทียมกัน หลักความรับผิดชอบ Accountability & Responsiveness ตระหนักในสิทธิหน้าที่ สำนึกรับผิดชอบต่อสังคม การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ เพื่อความรับผิดชอบ ทุกระดับที่มีความชัดเจน หลักความ มีส่วนร่วม Participation การเปิดโอกาสให้ประชาชน มีส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็น การตระหนักในสิทธิหน้าที่ การมีส่วนร่วมในการบริหารภายใน

43 สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 5 การนำองค์กร 1 ผลลัพธ์ การดำเนินการ 7 3 การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ 6 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4

44 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ
โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย Strategic Plan Excellent & High Performance Organization 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 5 Good Governance & Leadership QA Data การนำองค์กร 1 ผลลัพธ์ การดำเนินการ 7 Driving Forces Strategic HRD 3 การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ 6 Business Intelligence VOC, CRM &CSR Productivity Improvement Learning Organization การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4 KM

45 ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย ประวัติมหาวิทยาลัย (โดยย่อ) เอกลักษณ์องค์กร พื้นที่การศึกษา (ขนาด / คณะ) โครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน Governance ที่ตั้ง (แต่ละพื้นที่การศึกษา) สิ่งอำนวยความสะดวก หอพัก (fitness, canteen etc.) ชมรม สโมสร กิจกรรมนักศึกษา ฐานะการเงินและแห่งรายได้

46 1 การนำองค์กร ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย
กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย ประกาศทิศทางองค์กรที่ชัดเจน (แผนยุทธศาสตร์-แผนระยะยาว) ประกาศนโยบายองค์กรที่ชัดเจนเพื่อขับเคลื่อนทิศทางตามที่ประกาศ การผลักดันสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง กำกับและติดตามอย่างโปร่งใสตรวจสอบได้และมีความรับผิดรับชอบ

47 2 ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ
การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนปฏิบัติการ (Business Model) ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์/แผนระยะยาว และติดตามและประเมินผล

48 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3 การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น+ผู้ประกอบการ + ชุมชน ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ความร่วมมือและความสัมพันธ์ในกลุ่มเครือข่าย กลไกและช่องทางการสื่อสารและบริการ

49 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย มีระบบบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ติดตามข้อมูลผลการดำเนินงานที่เป็นปัจจุบัน ผลการวิเคราะห์การดำเนินและเปิดเผยต่อสาธารณะ การปรับปรุงผลการดำเนินงาน

50 5 การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย
กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐาน เช่น จำนวนบุคลากร (สายวิชาการ สายสนับสนุน) กลไกการสรรหาบุคลากร มีแผนการพัฒนาบุคลากร มีระบบประเมินการปฏิบัติและขีดความสามารถของบุคลากร ความก้าวหน้าในอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร

51 6 กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น + นักศึกษา + ผู้ปกครอง+ ผู้ประกอบการ การจัดการ กระบวนการ ข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย มีระบบการพัฒนาการศึกษา (เช่น หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และการประกันคุณภาพ) การสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ มีกลไกในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (เช่น ความร่วมมือกับภาคเอกชน ภาคประชาสังคม) มีระบบสนับสนุนการบริหาร

52 7 ผลลัพธ์ การดำเนินการ กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ ได้แก่ หน่วยงานภายนอก
เช่น สำนักงบประมาณ สกอ. สมศ. สตง. เป็นต้น + ผู้ปกครอง ตัวอย่างข้อมูลที่นำเสนอ ประกอบด้วย จำนวนนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา (แยก ป.ตรี บัณฑิต ไทย ต่างชาติ) สถิติผู้สมัคร/ผู้ได้รับการคัดเลือก (แยก ป.ตรี/บัณฑิตศึกษา) ค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายส่วนตัว และทุนการศึกษา (แยก ป.ตรี/บัณฑิตศึกษา) จำนวนนักศึกษาทั้งหมด จำแนกตามคณะ/สถาบัน (แยก ป.ตรี/บัณฑิตศึกษา) จำนวนนักศึกษาต่างชาติ แยกประเภท (regular Exchange Internship Etc.) และทวีป ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา (การมีงานทำ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต เงินเดือน) ผลงานวิจัย (Publication / Citation / สิทธิบัตร-อนุสิทธิบัตร / High Impact Research) รายได้จากงานวิจัย (รัฐ/เอกชน) ผลการจัดอันดับระดับชาติ และนานาชาติ รางวัลที่ได้รับ (Highlight) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

53 Good University Report (GUR)
รายงานกิจการมหาวิทยาลัยต่อสาธารณะ “University Public Report” ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

54 การดำเนินการตามแนวทาง
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ CMU-EdPEx

55 ตัวอย่างผลลัพธ์หมวด 7

56 ตัวอย่างผลลัพธ์หมวด 7

57 ตัวอย่างผลลัพธ์หมวด 7

58 ตัวอย่างผลลัพธ์หมวด 7 SS ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 mg./l.
SS, BOD ค่ามาตรฐาน มช.ไม่เกิน 10 mg./l.

59 ผลการวิเคราะห์ จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
Strengths ผลลัพธ์หลายด้านมีระดับหรือมีแนวโน้มที่ดีต่อเนื่อง เช่น ค่าธรรมเนียมรายปีจากทรัพย์สินทางปัญญา ความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์กรในปี 2557 อยู่ในระดับสูง-สูงที่สุด การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ทั้งจำนวนนักศึกษาและกระบวนวิชา จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงฯ มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีการเทียบเคียงกับ CU และ MU และ จำนวนอาจารย์ที่ได้รับทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ ด้านการจัดการน้ำทิ้งต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้และค่าที่กฎหมายกำหนด ความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการที่เกินเป้าหมายและมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ในปี 2557 จากปี 2556 เป็นต้น ผลลัพธ์ที่เปรียบเทียบและดีกว่าคู่เทียบ ได้แก่ สัดส่วนจำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ฯในฐานข้อมูล Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ที่ดีกว่ามหิดล ในปี 2557

60 ผลการวิเคราะห์ จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
OFIs ไม่พบผลลัพธ์สำคัญหลายด้าน เช่น คุณลักษณะบัณฑิตที่สำคัญแต่ละด้าน การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21และภาษาอังกฤษ ความร่วมมือกับคู่ความร่วมมือ/ภาคอุตสาหกรรมด้าน WIL หรือสหกิจศึกษาจำนวนโครงการ/กิจกรรมนักศึกษาที่ระบุในหน้า 37 การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน ด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่ช่วยส่งเสริมให้ผลการดำเนินการของสถาบันดีขึ้น ความพึงพอใจของนักศึกษาต่างชาติ และลูกค้ากลุ่มอื่น ๆ ตามที่ระบุไว้ ความผูกพันและความไม่พึงพอใจของผู้เรียน และลูกค้าทุกกลุ่ม และส่วนตลาด ด้านขีดความสามารถและอัตรากำลัง (เช่น การเตรียมรองรับอาจารย์ที่เกษียณและหลักสูตรที่เพิ่มขึ้น การดึงดูดอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก อัตราการลาออกของบุคลากรสายต่าง ๆ ทักษะภาษาอังกฤษของอาจารย์ที่สอนนักศึกษาต่างชาติ) ผลการประเมินด้านการนำองค์กร รวมถึงผู้นำระดับสูง ด้านงบประมาณ การเงินและตลาดหลายด้าน (เช่น ความสามารถในการหารายได้ของหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้น) ตัวบ่งชี้การบรรลุกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และการสร้างเสริมสมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย เป็นต้น

61 ผลการวิเคราะห์ จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
OFIs ผลลัพธ์ในหลายด้าน ไม่ได้ระบุเป้าหมาย ทำให้ไม่สามารถจะพิจารณาผลที่เกิดขึ้นว่า เป็นไปตามเป้าหมายหรือดีกว่า เช่น ร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนดเวลา จำนวนโครงการวิจัยร่วมกับภาคอุตสาหกรรม งบวิจัยจากแหล่งทุน จำนวนนักศึกษาต่างชาติ หรือการเทียบงบที่จัดสรรให้งานประจำและงบที่จัดสรรตามยุทธศาสตร์ เป็นต้น ผลลัพธ์ส่วนใหญ่ยังไม่มีการเทียบเคียง หรือที่มีการเทียบเคียง ยังต่ำกว่าคู่เทียบ เช่น จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนบทความวิจัยได้รับการอ้างอิงใน Refereed Journal ที่ต่ำกว่าคู่เทียบอีก 2 แห่งอย่างต่อเนื่อง 3 ปีและสัดส่วนจำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ฯในฐานข้อมูล Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ที่ต่ำกว่าจุฬาฯ ตลอด 3 ปี

62 ผลการวิเคราะห์ จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
OFIs ผลลัพธ์หลายเรื่องยังมีระดับและแนวโน้มที่ไม่ดีหรือไม่สม่ำเสมอ เช่นความพึงพอใจของนักศึกษาในมิติต่างๆ ความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ จำนวนบุคลากรวิชาการที่ได้รับการแต่งตั้ง การจัดอันดับ QS Asian University คุณภาพน้ำ และร้อยละของรายได้และงบประมาณตามยุทธศาสตร์ เป็นต้น

63 สรุปผลการประเมิน ปีการศึกษา 2557

64 แลกเปลี่ยนเรียนรู้: ความโปร่งใสในการบริหารงบประมาณ

65 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มทส. GUR – Final Product-Infographic
การจัดทำบริษัทลูก (ขาย Knowhow) เพื่อหาทุนสนับสนุนภารกิจ การจัดสรรงบประมาณแบบ Strategic Performance based Budgeting 3R ใช้กับงานประจำ (LEAN) กระบวนการจัดทำแผน ใช้ PDCA (เริ่ม A) พัฒนาระบบ MIS รองรับ (Single Database) การจัดงบ 9 ข้อ 3 หมวด... ประจำ ยุทธศาสตร์ งบสำรองทั่วไป-งบกลาง GUR – Final Product-Infographic

66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มจ. ม.ทักษิณ มหามกุฎ ม.บูรพา
แผนฯ ยุทธศาสตร์ 5 ควรมีการปรับแผนงบประมาณ ไม่เกิน 2 ปี EdPEx สามารถประเมินการปิดหลักสูตร (การปรับอัตรากำลัง, การเกลี่ยอัตรา) ม.ทักษิณ การสื่อสารการบริหารอัตรากำลังกับบุคลากร งบยุทธศาสตร์จัดสรรไว้ส่วนกลาง คณะ Bid งบประจำจัดไว้ที่คณะ มหามกุฎ กระบวนการ Re profiling มหาวิทยาลัย ม.บูรพา การบูรณาการโครงการ การคำนวณต้นทุน

67 ขอบคุณครับ

68 สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลประกอบ การสัมมนาเครือข่ายวางแผนอุดมศึกษา ประจำปี 2559 ได้ที่เว็บไซต์ฝ่ายแผนงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ


ดาวน์โหลด ppt การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google