งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
เภสัชกร ปรัชญา ศฤงคาร กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลสวนสราญรมย์

2 Definition-DUE การประเมินการใช้ยา เป็นกระบวนการประกันคุณภาพการใช้ยาที่ต้องไปเป็นอย่างมีระบบ และต้องทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีการใช้ยาอย่างเหมาะสม ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ

3 กระตุ้นให้มีการใช้ยาอย่างเหมาะสม
Golds of DUE กระตุ้นให้มีการใช้ยาอย่างเหมาะสม ได้การรักษาที่มีคุณภาพและราคาของการรักษาเหมาะสมไม่แพงเกินไป ป้องกันและแก้ไขปัญหา DRPs ที่เกิดขึ้น ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานตามที่ยอมรับ

4 Need for DUE - จำนวนการใช้ยาที่เพิ่มขึ้นและความ พร้อมในการรักษา
- การใช้ยาที่หลากหลาย - สำหรับยาที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ( ยาในบัญชียา ง ) - มีการใช้ยาที่มีราคาแพง - มีการใช้ยาที่ไม่จำเป็น - อัตราการรักษาที่ไม่ได้ผล - อัตราการเกิด ADRs เพิ่ม

5 - เป็นการประเมินการรักษาของผู้ป่วยก่อนที่
Type of DUE Prospective - เป็นการประเมินการรักษาของผู้ป่วยก่อนที่ จะได้รับยา เพื่อดูว่าการรักษาผู้ป่วยของ แพทย์เหมาะสมเพียงใด เพื่อให้เภสัชกร และเจ้าหน้าที่สามารถแก้ไขปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นได้ก่อนที่จะได้ยา

6 - เป็นการติดตามผลการใช้ยา ระหว่างที่
Type of DUE (ต่อ) Concurrent DUE - เป็นการติดตามผลการใช้ยา ระหว่างที่ ผู้ป่วยใช้ยาหลังจากได้รับยาไปบ้าง แล้ว และยังมีการใช้อยู่ - ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที - มีข้อมูลมากกว่า Prospective เพราะ สามารถคุยกับผู้ป่วยและแพทย์ได้ - ลดค่าใช้จ่ายได้จริง แต่เภสัชกรและ เจ้าหน้าที่ต้องมีความรู้ความสามารถพอ

7 Type of DUE (ต่อ) Retrospective DUE
- การประเมินจาก case ของผู้ป่วยย้อนหลัง โดย เอามาประเมินกับ Criteria - ทำได้ง่ายเป็นการ review ทบทวนมากกว่า - วิธีนี้สามารถป้องกันการใช้ยา วิธีการใช้ยาของ แพทย์ได้ สามารถแก้ปัญหาในภาพรวมได้

8 Retrospective DUE ข้อดี ข้อเสีย - ง่าย - ข้อมูลไม่สมบูรณ์ ทำให้บาง
- ไม่มีข้อจำกัดของเวลา - ไม่ทำให้การรักษาหยุด ชะงัก - เหมาะในโครงการนำร่อง - ไม่ต้องเผชิญหน้า - ได้ pattern ในการเปรียบ เทียบการรักษา - เป็นข้อมูลในการพัฒนา criteria ข้อเสีย - ข้อมูลไม่สมบูรณ์ ทำให้บาง จุดประเมินไม่ได้ - การแก้ปัญหาใช้เวลานาน เพราะแก้ในภาพรวม - แก้ปัญหาไม่ได้ เพราะผ่าน มาแล้ว

9 ขั้นตอนในการกำหนดขอบเขต การประเมินการใช้ยา
1.Establish responsibility(มีการยอมรับการประเมินหรือไม่) 2.Develop scope of activities(กระตุ้นให้มีการพัฒนาขอบเขตในการทำการประเมินการใช้ยา) 3.Establish criteria and thresholds(กำหนด Criteria) 4.Collect data and organize results(มีการเก็บข้อมูล) 5.Analyze data(มีการวิเคราะห์ข้อมูล) 6.Develop recommendations and plan of action(มีการพัฒนาระบบจัดเก็บและวางแผน DUE) 7.DUE follow-up

10 Step1. มีการยอมรับการประเมินหรือไม่
-มีการประชุมร่วมกันในหน่วยงาน PTC ว่าเห็นสมควรหรือไม่ที่จะมีการประเมินการใช้ยา

11 Step2. กระตุ้นให้มีการพัฒนาขอบเขตในการทำการประเมินการใช้ยา
- พยายามหาปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้ยา หรือ out come ไม่ดีเกี่ยวกับผู้ป่วย -พยายามดูยาที่มี high potency ดูยาที่มีช่วงการรักษาแคบหรือยาที่มีความเสี่ยงต่อการ เกิด ADR สูง ยาที่มีราคาแพงมาก ยาฉุกเฉินที่มีความสำคัญ ยาที่ยังไม่ได้ประเมิน ยาที่มีการใช้ไม่ถูกข้อบ่งใช้ ยาที่มีการใช้กับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงในการใช้ยาสูง

12 การเก็บข้อมูลประเมินการประเมินใช้ยา
1. Escitalopram (Lexapro®10 mg) 2. Aripiprazole (Abilify ® 10, 15 mg) 3. Risperidone (Risperidone Consta ®25mg 4. Methylphenidate (Concerta 18, 36 mg) 5. Memantinen Hydrochloride (Ebixa  10 mg) 6. Atomoxetine Hydrochloride (Strattera  10,18,25,40 mg) 7. Rabeprazole (Pariet  20 mg)

13 - การสร้างเกณฑ์ที่ถูกต้องต้องมีการกำหนด Guide
Step3. กำหนด Criteria - การสร้างเกณฑ์ที่ถูกต้องต้องมีการกำหนด Guide lines ซึ่งจะต้องมี evidenced-base ยืนยัน ต้องเป็นยาที่มีการยืนยันในการใช้ ใช้ในขนาดใช้ที่ถูกต้อง ต้องรู้ช่วงเวลาในการให้ยา ดู out come เช่น ดู Toxicity ดูข้อห้ามใช้ ดู Drug interactions ให้ความรู้ผู้ป่วยได้ เช็คผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้ป่วยได้ ต้องมีผู้บริหารประเมินการใช้ยา

14 การเก็บข้อมูลประเมินการประเมินใช้ยา
1.ข้อบ่งใช้(Indication) 2.ขนาดยา(Dosage) 3.อาการข้างเคียงจากการใช้ยา(Adverse drug reaction) 4.มูลค่ายา

15 Step4. มีการเก็บข้อมูล 1. Prospective evaluation
2. Retrospective evaluation - มีการบันทึกด้วยมือ - มีการบันทึกกับระบบคอมพิวเตอร์ 3. แหล่งข้อมูลอาจหาได้จาก - ข้อมูลที่มีการอธิบายหรือการลงบันทึก - ข้อมูลยา - ข้อมูลค่า Lab - ข้อมูลที่มีการบันทึกจากประวัติผู้ป่วย - ข้อมูลที่ได้จาก computer

16 การเก็บข้อมูลประเมินการประเมินใช้ยา
สำหรับยาที่ทำการประเมินในโรงพยาบาลมีการติด ตามแบบ concurrent DUE บันทึกข้อมูลในแบบเก็บข้อมูลการประเมินการใช้ยา [DUE-1]

17 การเก็บข้อมูลประเมินการประเมินใช้ยา
เก็บข้อมูลที่ได้บันทึกในใบประเมินการ ใช้ยาเป็นระยะเวลา 1 ปี

18 Step5. มีการวิเคราะห์ข้อมูล
1. มีการวิเคราะห์ถ้าเกิด Criteria ขึ้น 2. วิเคราะห์ตัวชี้วัดใหม่อีกครั้งว่าทำไม, มีปัญหาอะไรถึงไม่เจอ

19 Step6. มีการพัฒนาระบบจัดเก็บและ วางแผน DUE
* มีการแนะนำและทบทวนถึง - การใช้ยาไม่เหมาะสม - outcomes ที่ผู้ป่วยได้ไม่ได้รับการยอมรับ - ปัญหาของการใช้ยาเราอาจแก้ไขได้อาจ จะให้ความรู้เรื่องยา, ปรับเปลี่ยนรูปแบบ ของยาหรือ อาจมีข้อจำกัดในการใช้ยาโดย อาจจะให้ตรงตาม Criteria ของเรา, อาจ ปรับเปลี่ยนชนิดของยา

20 Step7.DUE follow-up 1. แนะนำให้มีการสนับสนุนการทำ DUE
2. มีการประเมินการใช้ยาใหม่ถ้าเกิดปัญหากับยา

21 ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมินการใช้ DUE
1. ทำให้มีการใช้ยาที่เหมาะสม 2. สามารถลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 3. ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหลายวิชาชีพร่วมกัน 4. ข้อมูลในการศึกษาวิจัยต่อไป

22 อุปสรรคในการทำ DUE 1. ไม่มีการกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการ
2. ไม่มีการวางระบบงานที่ดี 3. ขาดการประสานงานที่ดีและมีประสิทธิภาพ 4. การจัดทำเอกสาร และการจัดเก็บไม่ดี สืบค้นยาก 5. ขาดความร่วมมือในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ 6. ขากการสนับสนุนจากผู้บริหาร 7. ขากการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง 8. ขาดการประเมินวิธีการ

23 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google