ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐ วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมลีลาวดี โรงแรมฟูรามา ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
2
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง
CANCER
3
ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด Service Plan สาขาโรคมะเร็ง ปี 2560
โดยใช้ 7 ยุทธศาสตร์ เป็น Process บรรลุเป้าประสงค์ เป้าประสงค์ (ผลลัพธ์ Goal ) 1.ลดอัตราตาย 2.ลดอัตราป่วย 3.ลดระยะเวลารอคอย 4.สถานบริการสุขภาพได้มาตรฐาน
4
ยุทธศาสตร์ที่ 1 Primary Prevention
(ปฏิทินงานมะเร็ง) ร้อยละ 80 ยุทธศาสตร์ที่ 2 Screening and Early Detection ตัวชี้วัด 2.การคัดกรอง CA Breast ได้แก่ - BSC ครอบคลุม ร้อยละ 80 - CBE ครอบคลุม ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 3.การคัดกรอง CA Cervix (ในช่วง 5 ปี) ครอบคลุม ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 4.สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมกัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ตัวชี้วัด 5.สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมกัน
5
ยุทธศาสตร์ที่ 3 Cancer Diagnosis (มะเร็ง 5 อันดับแรกได้แก่ มะเร็งปอด
มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และ มะเร็งลำไส้ ตัวชี้วัด 6. การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง (ผลตรวจชิ้นเนื้อ) ภายใน 2 อาทิตย์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 7. การส่งต่อนอกพื้นที่เพื่อตรวจวินิจฉัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 Cancer Treatment (มะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และ มะเร็งลำไส้) ตัวชี้วัด 8. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งได้รับการผ่าตัด ภายใน 4 อาทิตย์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 9. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งได้รับรังสีรักษา ภายใน 6 อาทิตย์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 10. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งได้รับเคมีบำบัด ภายใน 6 อาทิตย์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 11. ร้อยละของการส่งต่อเพื่อรักษา
6
ยุทธศาสตร์ที่ 5 Palliative Care
ตัวชี้วัด 12. ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคอง และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยศูนย์ COC (Continuing of Care) ตัวชี้วัด 13. การจัดการระบบสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ยุทธศาสตร์ที่ 6 Cancer Informatics ตัวชี้วัด 14 ทะเบียนมะเร็ง ระดับโรงพยาบาล (Hos Based) ได้แก่ รพศ. รพท.และ รพช.ทุกแห่ง โดยใช้โปรแกรม Thai Cancer Based (TCB) ตัวชี้วัด 15 ทะเบียนมะเร็ง ระดับประชากร (Pop Based) จัดทำโดย รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
7
ยุทธศาสตร์ที่ 7 Cancer Research
ตัวชี้วัด 16. ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งศูนย์และผลิตงานวิจัย ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ตัวชี้วัด 17. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ คือ HCC + CCA (C C22.9) ลดลง 5 % ภายใน 5 ปี (ภายในปี 2564) จาก Baseline data ปี 2556 ( 23.9 คน/ แสนประชากร) ตัวชี้วัด 18. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด (C33.0 – C34.9) ลดลง 5 % ภายใน 5 ปี (ภายในปี 2564) จาก Baseline data ปี 2556 ( คน/ แสนประชากร)
8
ประเด็นการตรวจราชการ SP สาขาโรคมะเร็ง ปี 2560
ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก 1.ด้านการผ่าตัด - บริหารจัดการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็ง - บริหารจัดการห้องผ่าตัด เพื่อรองรับผู้ป่วยโรคมะเร็งร่วมกับโรคอื่นๆ อย่างเหมาะสม 2. ด้านเคมีบำบัด - ส่งศัลยแพทย์เข้ารับการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพในการให้ยาเคมีบำบัดมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก - เพิ่มอัตรากำลัง แพทย์ พยาบาล และเภสัชกรด้านเคมีบำบัด 3. ด้านรังสีรักษา - บริหารจัดการเครื่องฉายรังสี เพื่อรองรับผู้ป่วยโรคมะเร็งอย่างเหมาะสม - เพิ่มอัตรากำลัง แพทย์ นักฟิสิกส์การแพทย์ และนักรังสีการแพทย์ ให้พร้อมต่อการขยายบริการ
9
สถานการณ์ โรคมะเร็ง โรคมะเร็ง ประเทศไทย
14
จำนวนและร้อยละผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 10 อันดับแรก ประเทศไทย พ.ศ.2557
จำนวนและร้อยละผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 10 อันดับแรก ประเทศไทย พ.ศ.2557
15
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งใหม่ จำแนกรายโรค 5 อันดับแรก จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557 – 2559
16
การลดระยะเวลารอคอย การตรวจวินิจฉัย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา มะเร็งทุกชนิด จ.ชม. ปี 2559
17
การลดระยะเวลารอคอย การตรวจวินิจฉัย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก จ.ชม. ปี 2559
18
ผลการดำเนินงาน ปี 2559 - การผ่าตัดมะเร็งทุกชนิด < 4 สัปดาห์ ร้อยละ (326/408 ราย) - การรักษาด้วยเคมีบำบัดมะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ85.54 (207/242 ราย) - การรักษาด้วยรังสีรักษามะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ (118/121 ราย) - การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ด้วย U/S จำนวน 5,607 ราย ผิดปกติ จำนวน 1,470 ราย ร้อยละ สงสัย CCA จำนวน 23 ราย ร้อยละ 0.41
19
GAP 1. ทะเบียนมะเร็งและข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ยังไม่ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน 2. การจัดกิจกรรมการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมป้องกัน โรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ในวันสำคัญ ยังไม่เป็นรูปธรรมที่ ชัดเจน และขาดความต่อเนื่อง 3. การลดระยะเวลารอคอย การตรวจวินิจฉัย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด GAP
20
โครงการที่ดำเนินการ ปี 2560
โครงการตรวจคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี โครงการถันยรักษ์ + การคัดกรองมะเร็งเต้านม + มูลนิธิกาญจนบารมี โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก โครงคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โครงการ Service plan สาขาโรคมะเร็ง (การตรวจวินิจฉัย และการ รักษาด้วย การผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา มะเร็ง ๕ อันดับแรก)
21
มาตรการพัฒนาที่สำคัญเพื่อแก้ไขปัญหา
1. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ในวันสำคัญ รพ./รพ.สต. เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ( 5 ครั้ง ต่อแห่ง) 2. พัฒนาแนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ให้เป็น แนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด (คลินิกบริการ รพ.สต./ Mobile ไปในชุมชน/ บูรณาการเครือข่ายฯ) 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร รพศ./ รพท. /รพช./รพ.สต. ในการบันทึกข้อมูล การคัดกรองมะเร็งเต้านม ( โปรแกรม JHCIS และ JHCIS ส่วนของถันยรักษ์ ) และ มะเร็งปากมดลูก ( CXS2010 ) 4. ติดตามประเมินผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และโครงการ มูลนิธิถันยรักษ์ และโครงการมูลนิธิกาญจนบารมี และนำเสนอที่ประชุม Provider Broad และ คพสจ. ทุกเดือน 5. พัฒนาและจัดทำแนวทางการตรวจวินิจฉัย และรักษา โรคมะเร็ง 5 อันดับแรก เพื่อลดระยะเวลารอคอย การผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ให้ได้ตามเกณฑ์ 6. พัฒนาทะเบียนมะเร็ง รพศ./ รพท. / รพช. โดยใช้โปรแกรม Thai Cancer Base 7. พัฒนาระบบข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
22
ผลการดำเนินงาน ปี 2560 - การคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก เป้าหมาย 2,700 ราย - ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก จำนวน ,607 ราย ( % ) พบ positive จำนวน ราย ( % ) ได้ตรวจ Colonoscope จำนวน ราย ( % ) นัดคิวรอตรวจ Colonoscope จำนวน ราย ( % ) -การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม - BSE จำนวน ,167 คน ( % ) (ถันยรักษ์) 242,167 คน ( % ) (ถันยรักษ์ รวม สารภ๊) - CBE จำนวน 146,173 คน ( % ) (HDC) - การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก รายใหม่ จำนวน 128,655 คน ( % ) (HDC)
23
ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาโรคมะเร็ง 5 อันดับแรก
ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาโรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ กิจกรรมฯ เป้าหมาย CA Breast Cervix Colon+ Rectum Lung Liver 1 การวินิจฉัยทาง พยาธิวิทยา < 2 wks. 80 % 92.59 % 2 ผ่าตัด < 4 wks. 10/15 (66.66% ) - 7/10 (70.00 %) 3 เคมีบำบัด < 6 wks. 27/27 (88.88%) 8/8 (100%) 19/21 (90.47%) 4 รังสีรักษา < 6 wks. -/29 -/9 หมายเหตุ : เครื่องหมาย - คือ เก็บข้อมูลไม่ได้
24
เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2560
ที่ กิจกรรม เป้าหมาย 1 การจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โรคมะเร็ง สถานบริการ แห่งละ 5 ครั้ง 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก วันต่อต้านโรคมะเร็งแห่งชาติ (10 ธ.ค.) วันมะเร็งโลก (4 ก.พ.) วันฉัตรมงคล (5 พ.ค..) วันแม่แห่งชาติ (12 ส.ค.) วันรณรงค์โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวโลก (22 ก.ย.) 2 สตรีอายุ ปี ได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งเต้านม (CA Breast) BSE ร้อยละ 80 CBE ร้อยละ 80
25
เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2560
ที่ กิจกรรม เป้าหมาย 3 สตรีกลุ่มเป้าหมาย ( ปี) ได้รับการตรวจคัดกรอง CA Cervix (รายใหม่) ในปี 2556 – โดยวิธี pap smear และ VIA ร้อยละ 80 4 สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมกัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 5 สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมกัน
26
เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2560
ที่ กิจกรรม เป้าหมาย 6 การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี โดยการตรวจด้วยเครื่อง Ultrasound ร้อยละ 90 7 ลดระยะเวลารอคอย การตรวจวินิจฉัย และรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก ร้อยละ 80
28
3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
Program Evaluation Review Technique(PERT) ชื่อตัวชี้วัด : ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก ให้ได้ตามเกณฑ์ คือ <4, 6, 6 สัปดาห์ (: โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก) ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก มีแนว การรักษาผู้ป่วย มะเร็ง 5 อันดับแรก มี Tumor Registry ของแต่ละ รพ. รพศ./รพท. จัดระบบ การให้บริการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ในรพ. มีแนวทางการจัดทำ Tumor Registry ของ รพ. มีผู้รับผิดชอบ จัดทำ Tumor Registry Full Time จำนวน 1 คน มีระบบการติดตามและประเมินผลงาน มีทีมประเมินผล ผู้ป่วยมะเร็งได้รับการผ่าตัด มีระบบข้อมูล Thai Cancer Base มีคุณภาพ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีการ Edit ข้อมูลแบบฟอร์ม การรักษาของแพทย์ ผู้ป่วยมะเร็งได้รับเคมีบำบัด ผู้ป่วยมะเร็งได้รับรังสีรักษา ทีมประเมินระดับจังหวัด/Nodeมีคุณภาพ มีข้อมูลการรักษา มีรายงานการนิเทศ และประเมิน ผล มีผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้รับการรักษา ตามเกณฑ์ ประชุม เชิงปฏิบัติการ มีระบบข้อมูลมะเร็ง <4 weeks <6 weeks มีระบบรายงาน(ตก.) ลด อัตราตาย ทีมประเมินระดับจังหวัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ - ถ่ายทอดนโยบาย - สร้างแผน มีห้องผสมยาเคมีบำบัด ณ รพ สันกำพง รพ.สันทราย/สันป่าตอง เปิดให้เคมีบำบัด มีพยาบาล Onco อบรม 10 วัน นิเทศและประเมิน มีเภสัชกรผสมยาเคมีฯ มีเภสัชกรผสมยาเคมีฯ
29
งานสำคัญที่ต้องทำ (Essential task) ปี 2560
(การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งตับ) ประเด็น ระดับ รพ. Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การให้บริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3.รพ.ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔. รพ.สต. 1.ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้แก่โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ในวันต่อต้านโรคมะเร็งแห่งชาติ (10 ธ.ค.) 3. มีการจัดคลินิคตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ ( รพ.สต.) ร้อยละ ๑๐๐ 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆละ ๑ ครั้ง ๒. มีการจัดคลินิคตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ ( รพ.สต.) 3. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ใน วันมะเร็งโลก (4 ก.พ.) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ ๑ ครั้ง ๒. มีการจัดคลินิคตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ ( รพ.สต.) ร้อยละ ๑๐๐ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ใน วันฉัตรมงคล (5 พ.ค..) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดย Mobile ของ มูลนิธิกาญจนบารมีฯโดยการตรวจ Ultrasound และ Mammogram จำนวน ๕ โซน รพ.สต.แห่งละ 2 ครั้ง ใน วันแม่แห่งชาติ (12 ส.ค.) วันรณรงค์โรคมะเร็งเม็ดเลือดข่าวโลก (22 ก.ย.)
30
ประเด็น ระดับ รพ. เต้านม (CA Breast)
Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2. สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงมะเร็ง เต้านม (CA Breast) 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3.รพ.ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔. รพ.สต. 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย (30-70ปี) ได้รับการตรวจคัดกรอง CA Breast โดย - BSE ร้อยละ 70 - CBE ร้อยละ 70 ๒. สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการ refer ร้อยละ ๑๐๐ ๓. สตรีที่ตรวจพบเป็น cyst หรือ mass ได้รับการตรวจ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๖๐ ๔. ผู้ป่วย CA Breast Stage 1 และ Stage 2 รวมกัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 7๐ ๕.จัดให้บริการคลินิกตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ณ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ ๑ ครั้งต่อเดือน 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย (30-70ปี) ได้รับการตรวจคัดกรอง CA Breast โดย - BSE ร้อยละ ๘0 - CBE ร้อยละ ๘0 ๒. สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการ refer ร้อยละ ๑๐๐ ๓.สตรีที่ตรวจพบเป็น cyst หรือ mass ได้รับการตรวจ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๘๐ ๔. ผู้ป่วย CA Breast Stage 1 และ Stage 2 รวมกัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ๕. จัดโมบายไปให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ในชุมชนที่ห่างไกล 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย (30-70ปี) ได้รับการตรวจคัดกรอง CA Breast โดย - BSE ร้อยละ ๙0 - CBE ร้อยละ ๙0 ๓.สตรีที่ตรวจพบเป็น cyst หรือ mass ได้รับการตรวจ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๙๐ 4. ผู้ป่วย CA Breast Stage 1 และ Stage 2 รวมกันไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 - BSE ร้อยละ ๑๐0 - CBE ร้อยละ ๑๐0 ๓.สตรีที่ตรวจพบเป็น cyst หรือ mass ได้รับการตรวจ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๑๐๐ ๔. ผู้ป่วย CA Breast Stage 1 และ Stage 2 รวมกัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
31
ประเด็น ระดับ รพ. Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ๓. สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ( CA Cervix ) 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3.รพ.ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔. รพ.สต. 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย (30-๖0ปี) ได้รับการตรวจคัดกรอง CA Cervix (รายใหม่) ในปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ โดยวิธ๊ pap smear และ VIA ร้อยละ ๗0 ๒. สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการ refer ร้อยละ ๑๐๐ 3.สตรีที่พบความผิดปกติรับการ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๗๐ 4. ผู้ป่วย CA Cervix Stage 1 และ Stage 2 รวมกันไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ๕.จัดให้บริการคลินิกตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ณ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ ๑ ครั้งต่อเดือน 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย (30-๖0ปี) ได้รับการตรวจคัดกรอง CA Cervix (รายใหม่) ในปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ โดยวิธ๊ pap smear และ VIA ร้อยละ ๘0 3.สตรีที่พบความผิดปกติรับการ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ 7๐ ๕. จัดโมบายไปให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ในชุมชนที่ห่างไกล CA Cervix (รายใหม่) ในปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ โดยวิธ๊ pap smear และ VIA ร้อยละ ๙0 ๒. สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการ refer ร้อยละ ๑๐๐ 3.สตรีที่พบความผิดปกติรับการ FU ทุก ๖ เดือน ร้อยละ ๙๐ 4. ผู้ป่วย CA Cervix Stage 1 และ Stage 2 รวมกันไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 CA Cervix (รายใหม่) ในปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ โดยวิธ๊ pap smear และ VIA ร้อยละ ๑๐0
32
ประเด็น ระดับ รพ. Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ๔. การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี โดยการตรวจด้วยเครื่อง Ultrasound 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3.รพ.ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔. รพ.สต. ๑.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันไม่ให้เกิดโรคมะเร็งตับและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย ๒.ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุตั้งแต่ ๔๐ ปี ขึ้นไป ได้รับการความเสี่ยงตามเกณฑ์ที่กำหนด ๔ ข้อ ๓. รพ.สต./รพ. บันทึกข้อมูล ในโปรแกรม CASCAP และ upload ข้อมูลส่งให้มหาวิทยาลัยขอนแก่นทาง Website ครบถ้วน ถูกต้อง ๔. ผู้ที่พบความเสี่ยง ๑ ใน 4 ข้อ คือกลุ่มเป้าหมาย ส่งไปตรวจ Ultrasoud ยัง รพ. ๑. กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจ Ulrasound ช่องท้องด้านล่าง ให้แก่ผู้ที่พบความเสี่ยง ร้อยละ ๖๐ ๒. บันทึกข้อมูลรพ. บันทึกข้อมูล ในโปรแกรม CASCAP และ upload ข้อมูลและรูปภาพ ส่งให้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทาง Websiteครบถ้วน ถูกต้อง ๓. ผู้ที่ ตรวจ U/S พบว่า เป็นนิ่ว หรือ ไขมันพอกตับ ได้รับการรักษาตามสิทธิประกันสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐ ๔. ผู้ที่พบว่าเป็น mass หรือ สงสัยเป็นมะเร็งท่อน้ำดี ได้รับการ refer ร้อยละ ๑๐๐ ๑. กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจ Ulrasound ช่องท้องด้านล่าง ให้แก่ผู้ที่พบความเสี่ยง ร้อยละ ๘๐ ๒. ผู้ที่พบว่า เป็นนิ่ว ได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาจากศัลยแพทย์ รพ.แม่ข่าย ๓. ผู้ที่พบว่าเป็น mass หรือ สงสัยเป็นมะเร็งท่อน้ำดี ได้รับการ ตรวจ U/S และ CT หรือ MRI โดย รพศ./รพท. ( Node) ร้อยละ ๑๐๐ ๔. รพ. บันทึกข้อมูล ในโปรแกรม CASCAP และ upload ข้อมูลและรูปภาพ ส่งให้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทาง Website ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๑. กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจ Ulrasound ช่องท้องด้านล่าง ให้แก่ผู้ที่พบความเสี่ยง ร้อยละ ๑๐๐ ๓. ผู้ที่พบว่าเป็น mass หรือ สงสัยเป็นมะเร็งท่อน้ำดี ได้รับการ ตรวจ U/S และ CT หรือ MRI โดย รพศ./รพท. ( Node) ๕.สรุปประมวลผลการดำเนินงานเป็นภาพรวมของตำบล / อำเภอ
33
๕.การนิเทศ ติดตามและประเมินผลงาน
ประเด็น ระดับ รพ. Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ๕.การนิเทศ ติดตามและประเมินผลงาน 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3.รพ.ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔. รพ.สต. 1.รพ.ระดับ A,M, F และ รพ.สต. ได้รับทราบและเข้าใจนโยบาย แนวทางการนิเทศติดตามและประเมินผลงานระดับอำเภอ / รพ./รพ.สต. ปีละ ๒ ครั้ง/แห่ง ๒.บูรณาการแผนการนิเทศติดตามและประเมินผลงาน อำเภอ / รพ./รพ.สต. 1.อำเภอ/รพ./รพ.สต.สรุปประมวลผลการดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และการติดตามสตรีที่พบcyst /mass /รอยโรค/มะเร็ง stage 1 และ stage ๒ ๒.ทีมอำเภอ/รพ./รพ.สต.เตรียมความพร้อมรับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลงาน ครั้งที่ ๑ โดย ทีมจังหวัด /Node ๓. อำเภอ/รพ./รพ.สต.จัดทำแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหาของพื้นที่ ๑.อำเภอ/รพ./รพ.สต.ปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่พบจากการนิเทศงานฯ รอบที่ ๑ และพัฒนางานให้ก้าวหน้า ๒.สร้างภาคีเครือข่ายกับทุกภาคส่วนรวมทั้งประชาชนในชุมชนเป็นประชารัฐรวมใจพัฒนา ๓.อำเภอ/รพ./รพ.สต.สรุปประมวลผลการดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และการติดตามสตรีที่พบcyst /mass /รอยโรค/มะเร็ง stage 1 และ stage ๒ เพื่อนำเสนอ ๔.ทีมอำเภอ/รพ./รพ.สต.เตรียมความพร้อมรับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลงาน ครั้งที่ ๒ โดย ทีมจังหวัด /Node 1.อำเภอ/รพ./รพ.สต.สรุปประมวลผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ๒. วางแผนแก้ไขปัญหา ( Gap) โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน NGO ประชาชน และ อปท.ในรูปแบบประชาชนรัฐ
34
งานสำคัญที่ต้องทำ (Essential task) ปี2560 (ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก (ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก) ประเด็น ระดับ essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การจัดทำทะเบียนมะเร็ง(Tum0ur registry) โดยใช้โปรแกรม Thai Cancer Base (TCB) ได้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ทุกแห่ง (๒๔ รพ.) 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง ๓. รพช. ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔. รพ.สต. 1. รพศ./รพท./M1,M2 ( ๕ แห่ง) มีผู้รับผิดชอบในการจัดทำข้อมูลทะเบียนมะเร็ง อย่างน้อย 1 ที่ทำงาน Full Time ๒. รพช.ทุกแห่ง มีผู้รับผิดชอบในการจัดทำทะเบียนมะเร็ง อย่างน้อย 1 คน ๓. แพทย์ (รพศ./รพท.) ที่เกี่ยวข้องในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง รับทราบแนวทางในการบันทึกข้อมูลในแบบฟอร์มการรักษา(BCI) ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ๔. ผู้รับผิดชอบงานข้อมูลฯรวบรวม แบบ BCI จากแพทย์ที่ตรวจรักษาผู้ป่วยมะเร็ง เพื่อส่งให้พยาบาลที่รับผิดชอบ Edit ข้อมูลฯ 1.พยาบาลที่รับผิดชอบงานมะเร็ง เป็นผู้ Edit ข้อมูล ตามแบบ BCI หากข้อมูลไม่ครบถ้วน ประสานแพทย์ที่รักษาฯ ช่วยกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง ๒. ผู้รับผิดชอบในการจัดทำข้อมูลทะเบียนมะเร็ง บันทึกข้อมูลจากแบบฟอร์มการรักษาของแพทย์ (BCI) ซึ่งผ่านการ Edit ข้อมูล โดยพยาบาลฯ แล้ว ลงในโปรแกรม Thai Cancer Base (TCB) ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ๑.ประเมินผลข้อมูลการตรวจวินิจฉัย และรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก จากทะเบียนมะเร็งของ รพ. เป็นราย รพ. ได้ครบถ้วน ถูกต้อง ๒. ประเมินผลการบันทึกข้อมูลมะเร็งในโปรแกรม Thai Cancer Base (TCB) ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. ประเมินผลสรุปข้อมูลการตรวจวินิจฉัย และรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา ผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก ของ รพ. ทุกระดับ แต่ละแห่ง ได้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ๒. ประเมินผลข้อมูลการลดระยะเวลารอคอย การผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก ๓.จัดทำเอกสารสรุปผลงานการจัดทำทะเบียนมะเร็ง ของ รพ. ประจำปี ๒๕๖๐
35
มาตรการ ระดับ essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
2. การตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัดและรังสีรักษา ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3. รพ.ระดับ F3 จำนวน 1 แห่ง 1. แพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาได้รับทราบและเข้าใจ แนวทางการตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก ของจังหวัดเชียงใหม่ ๒.แพทย์ที่เกี่ยวข้องให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ตามแนวทางการรักษาฯ ผู้ป่วยมะเร็ง ของจังหวัดเชียงใหม่ 1.ผู้ป่วยมะเร็งได้รับบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ตามแนวทางการรักษาฯ ผู้ป่วยมะเร็ง ของจังหวัดเชียงใหม่ 2. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว และมีคุณภาพ ๓. แพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็งฯ มีการความเข้าใจและบันทึกข้อมูลฯ ในแบบ BCI ได้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ๑. ประเมินผลข้อมูลการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก ของ รพ. ระดับ A, ระดับ M และระดับ F แต่ละแห่ง ได้ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ๒. ผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้รับตรวจวินิจฉัยและรักษาภายในระยะเวลาตามเกณฑ์ที่กำหนด ๓. แพทย์และผู้เกี่ยวข้องมีการติดต่อประสานงาน Consult เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนและรวดเร็ว ๔.มีการบูรณาการทำงานร่วมกันทุกภาคส่วนแบบประชารัฐ ๕. ผู้ป่วยมะเร็งได้รับบริการดูแลดุญาติมิตรและญาติมีความสุข และเจ้าหน้าที่ก็มีความสุขสนุกกับการทำงาน ๑.ประเมินผลข้อมูลการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรกของ รพ. ระดับ A, ระดับ M และระดับ F แต่ละแห่ง และภาพรวมทั้งจังหวัด ได้ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ๒. ประเมินผล อันดับแรกการลดระยะเวลารอคอย ในการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาฯ ของผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรกได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ๓. ประเมินผลการลดอัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก
36
มาตรการ ระดับ essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
2. การตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัดและรังสีรักษา ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก(ต่อ) 1.รพ.ระดับ A จำนวน ๑ แห่ง ๒.รพ.ระดับ M จำนวน ๔ แห่ง 3.รพ.ระดับ F จำนวน ๑๙ แห่ง ๔.รพ.สต. ๓. แพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจวินิจฉัยและรักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็งฯ มีการความเข้าใจและบันทึกข้อมูลฯในแบบ BCI ได้ครบถ้วน ถูกต้อง ๔.ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด ๕.มีช่องทางการ Consultการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งในกลุ่มเครือข่ายทั้งทางโทรศัพท์ และทาง ไลน์ ๖.ผู้ป่วยที่เกินขีดความสามารถ รพ. แต่ละระดับ ได้รับการ refer ไปยังแม่ข่าย( Node) ร้อยละ ๑๐๐ ๔. มีช่องทางการติดต่อประสานงาน Consult เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนและรวดเร็ว ๕. มีการบูรณาการทำงานร่วมกันทุกภาคส่วน โดยมี อปท. เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณและอำนวยความสะดวกในการดูแลประชาชนในพื้นที่ ๖. อปท.ดูแลประชาชนได้อย่างครอบคลุม สมศักดิ์ศรี และมีประสิทธิภาพ
37
ประเด็น ระดับ รพ. Essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
๓. การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) รพ.ระดับ A, M, F, รพ.สต., อปท. , NGO และ อาสาสมัคร ๑. สำรวจผู้ป่วยมะเร็งและหรือผู้ป่วยอื่นๆ ที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) ๒. สำรวจ Care giver/ อาสาสมัคร ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๓. จัดทำแผน Care plan แบบบูรณาการร่วมกันกับ FCT / Care giver / NGO และ อปท. เพื่อให้บริการดูแลผู้ป่วยแต่ละ Case ๔. รพ.ระดับ A, M และ F ทุกแห่ง มีบริการ Pain clinic ๑. ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายฯ ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) ได้ครบทุกคน แบบองค์รวม โดยเครือข่ายในรูปแบบประชารัฐ สามารถดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care) ได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ซึ่งมี อปท. เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณและอำนวยความสะดวกในการดูแลประชาชนในพื้นที่ ๒. ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายฯได้รับยา Pain clinic ๑. ผู้ป่วยได้รับยาบรรเทาอาการปวด ไม่ทุรนทุราย พักผ่อนได้ ๒. ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายฯ ได้รับบริการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ดุญาติมิตรและญาติมีความสุขและเจ้าหน้าที่ก็มีความสุขสนุกกับการทำงาน ๓.ประเมินผลสรุปข้อมูลการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายและหรือผู้ป่วยอื่นๆ เป็นผลงานของ รพ. แต่ละระดับ ได้ครบถ้วน ถูกต้อง ๑.ประเมินผลสรุปข้อมูลการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายและหรือผู้ป่วยอื่นๆ เป็นผลงานของ รพ. แต่ละระดับได้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ๒.ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายและการเสียชีวิตอย่างสมศักดิ์ศรี ๔.การนิเทศติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน อำเภอ / รพ./ CUP/ รพ.สต. ๑. ทีมนิเทศติดตามและประเมินระดับมีความรู้ความเข้าใจในนโยบายและแนวทางการนิเทศติดตามและประเมินผล ๒.กพสอ.บูรณาการวางแผนการนิเทศติดตามฯ รพ.สต.ละ ๒ ครั้ง/ปี ๑. รพ.สต. ให้บริการดูแล และรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรกได้ครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ๒. กพสอ.นิเทศติดตามนิเทศติดตามและประเมินผลการดูแล และรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก ของ รพ.สต. ครั้งที่ ๑ 1.กพสอ.นิเทศติดตามและประเมินผลครั้งที่ ๒ ดูแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหาการดูแล และรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก ของ รพ.สต. ๒.ประเมินผลสรุปข้อมูลการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก เป็นของ รพ.สต. ได้ครบถ้วน ถูกต้อง ๑.ประเมินผลสรุปข้อมูลการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ๕ อันดับแรก เป็นของ รพ.สต. ได้ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ๒. ประเมินผลการลดระยะเวลารอคอยและลดอัตราตายด้วยโรคมะเร็งตับและมะเร็งปอด จาก Hos Base ได้ถูกต้อง
40
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐ ที่ ชื่อรายงาน ส่ง รง. ทุกเดือน ทุกไตรมาส ส่งทาง 1 CXS2010 / 2 โครงการถันยรักษ์ 2.1. ตรวจผู้พบผิดปกติ ใน 2 หมวด 8 ข้อ 2.2. ผู้ป่วย CA breast รายใหม่ Upload ส่งข้อมูลให้โครงการถันยรักษ์ ทาง Website 4 แบบ ตก.1
41
OPD(ผู้ป่วย) Investigation แพทย์ตรวจ Slide Review
ชิ้นเนื้อ R/O CA หรือ CA ขอ slide ส่งมาพร้อมกับ ผลและผู้ป่วย Pathology 2 wks Procedure(FNA / Core needle/ Biopsy) 2wks OPD(ผู้ป่วย) Investigation Labs(ผลเลือด/ Tumor marker) 2 wks 2 wks แพทย์ตรวจ 2-4 wks Imaging(CT/MRI/Mammogram) มีข้อมูลและประวัติผู้ป่วยครบ มีความเห็นจากแพทย์ 6 wks Treatment/Refer(Thai Refer, อื่นๆ) 6 wks Surgery 6 wks RT(รพ.มหาราชฯ/รพ.มะเร็งลำปาง) 6 wks 4 wks Chemotherapy จองคิว RT ระหว่างให้ Chemo C4-C5 (CA Breast ,CA Colon) ข้อมูลตอบกลับหลังการรักษา
42
สรุปผลงานการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30 – 70 ปี จังหวัดเชียงใหม่ แยกตามอำเภอ ปี 2557-2560
2558 2559 2560 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เมืองเชียงใหม่ 35,299 703 1.99 37,135 3,635 9.79 35,351 7,496 21.20 34,019 5,282 15.53 จอมทอง 16,867 2,786 16.52 16,518 4,930 29.85 16,481 14,952 90.72 16,844 7,219 42.86 แม่แจ่ม 13,011 5,393 41.45 11,990 3,262 27.21 12,311 11,350 92.19 12,603 6,349 50.38 เชียงดาว 16,548 1,102 6.66 14,403 1,857 12.89 14,581 4,683 32.12 14,736 3,931 26.68 ดอยสะเก็ด 19,831 2,079 10.48 17,265 2,773 16.06 17,693 9,285 52.48 17,538 12,225 69.71 แม่แตง 18,162 729 4.01 16,286 5,423 33.3 16,626 15,363 92.40 16,490 4,909 29.77 แม่ริม 21,845 1,565 7.16 23,018 7,867 34.18 23,446 16,912 72.13 23,784 12,000 50.45 สะเมิง 5,855 1,030 17.59 5,639 1,385 24.56 5,681 3,576 62.95 5,849 1,538 26.3 ฝาง 23,645 6,928 29.3 19,304 13,954 72.29 19,669 16,378 83.27 19,816 17,664 89.14 แม่อาย 17,732 297 1.67 13,861 811 5.85 13,799 10,382 75.24 14,033 1473 10.5 พร้าว 11,649 5,574 47.85 11,152 4,594 41.19 11,136 10,879 97.69 11,127 3,303 29.68 สันป่าตอง 24,761 4,713 19.03 21,857 14,251 65.2 22,120 19,449 87.92 22,127 17,161 77.56 สันกำแพง 19,395 4,710 24.28 18,835 7,087 37.63 19,014 15,487 81.45 19,227 6,006 31.24 สันทราย 34,150 1,700 4.98 34,231 6,381 18.64 34,904 20,022 57.36 35,115 8,780 25 หางดง 19,509 2,708 13.88 18,806 4,634 24.64 19,461 17,079 87.76 19,523 8,843 45.3 ฮอด 11,512 813 7.06 10,248 3,995 38.98 10,443 6,522 62.45 10,642 4,147 38.97 ดอยเต่า 6,389 722 11.3 6,320 3,125 49.45 6,340 4,689 73.96 6,336 3,238 51.1 อมก๋อย 11,387 89 0.78 10,629 1,769 16.64 10,937 8,805 80.51 11,200 1108 9.89 สารภี 21,334 321 1.5 22,868 3,717 16.25 21,357 17,542 82.14 23,560 5,356 22.73 เวียงแหง 3,814 236 6.19 3,084 346 11.22 3,195 2,635 82.47 3,244 662 20.41 ไชยปราการ 10,375 2,341 22.56 8,536 2,348 27.51 8,235 7,518 91.29 8,718 1701 19.51 แม่วาง 7,777 1,456 18.72 7,860 3,751 47.72 7,997 5,839 73.01 8,105 4,866 60.04 แม่ออน 5,219 1,942 37.21 5,085 2,543 50.01 5,112 4,603 90.04 5,166 2,559 49.54 ดอยหล่อ 6,433 1,375 21.37 6,590 1,419 21.53 6,671 83.56 4,166 กัลยาณิวัฒนา 2,235 194 8.68 2,150 1,493 69.44 2,262 2,218 98.05 2,346 1687 71.91 รวม 384,734 51,506 13.39 363,670 107,350 29.52 364,822 259,238 71.06 368,819 146,173 39.63
43
สรุปผลงานความครอบคลุมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัดเชียงใหม่ แยกตามอำเภอ ปี 2557 - 2560
2558 2559 2560 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เมืองเชียงใหม่ 29,151 705 2.42 31,090 2464 7.93 28,974 1,129 3.9 27,271 3,183 11.67 จอมทอง 13,712 1,135 8.28 13,518 3,771 27.9 13,265 3,225 24.31 13,301 6,548 49.23 แม่แจ่ม 11,325 671 5.92 10,406 3,563 34.2 10,644 4,894 45.98 10,803 7,504 69.46 เชียงดาว 14,052 1,429 10.2 12,163 3,498 28.8 12,104 1,682 13.9 11,991 4,216 35.16 ดอยสะเก็ด 16,270 575 3.53 14,133 3,863 27.3 14,084 1,442 10.24 13,616 4,381 32.18 แม่แตง 15,027 1,186 7.89 13,432 4,810 35.8 13,381 2,424 18.12 12,906 5,843 45.27 แม่ริม 18,285 2,216 12.1 19,447 5,225 26.9 19,477 3,647 18.72 19,402 7,462 38.46 สะเมิง 5,018 1,203 24 4,844 2,413 49.8 4,840 1,448 29.92 4,915 2,812 57.21 ฝาง 19,758 2,383 15,978 7,393 46.3 15,963 3,326 20.84 15,700 8,992 57.27 แม่อาย 15,087 1,193 7.91 11,713 3,015 25.7 11,416 1,736 15.21 11,377 3,711 32.62 พร้าว 9,427 1,720 18.3 9,101 5,093 56 8,808 4,431 50.31 8,526 6,712 78.72 สันป่าตอง 19,945 2,677 13.4 17,628 6,916 39.2 17,412 4,834 27.76 16,892 8,349 49.43 สันกำแพง 15,770 1,282 8.13 15,410 4,648 30.2 15,175 2,948 19.43 14,971 6,358 42.47 สันทราย 29,091 1,657 5.7 29,184 4,413 15.1 29,175 5,549 19.02 28,672 9,266 32.32 หางดง 16,376 1,972 12 15,903 5,337 33.6 16,121 3,116 19.33 15,803 6,787 42.95 ฮอด 9,847 507 5.15 8,733 3,910 44.8 8,774 3,217 36.67 8,825 5,079 57.55 ดอยเต่า 5,177 374 7.22 5,154 3,354 65.1 5,105 902 17.67 5,047 3,720 73.71 อมก๋อย 9,770 204 2.09 9,265 2015 21.8 9,469 1,474 15.57 9,596 3,389 35.32 สารภี 17,650 320 1.81 19,074 3,406 17.9 17,426 5,819 33.39 18,822 8,723 46.34 เวียงแหง 3,377 118 3.49 2,722 861 31.6 2,805 928 33.08 2,824 1,583 56.06 ไชยปราการ 8,708 695 7.98 7,078 2,270 32.1 6,674 2,007 30.07 6,939 3,648 52.57 แม่วาง 6,458 765 11.9 6,620 2,928 44.2 6,613 1,165 17.62 6,556 53.36 แม่ออน 4,339 1,104 25.4 4,255 2571 60.4 4,186 767 18.32 4,113 2,956 71.87 ดอยหล่อ 5,094 141 2.77 5,303 2,013 38 5,236 1,088 20.78 5,061 2,492 49.24 กัลยาณิวัฒนา 1,988 147 7.39 1,927 817 42.4 2,014 813 40.37 2,060 1,443 70.05 รวม 320,702 26,379 8.23 304,081 90,567 29.78 299,141 64,011 21.40 295,989 128,655 43.47
44
ส่งทาง เวปไซด์ โครงการถันยรักษ์ โดยตรง
สรุปผลการคัดกรองมะเร็งเต้านมโครงการสืบสานพระราชปณิธานฯ จังหวัดเชียงใหม่ รอบเดือนพฤศจิกายน 2559 ลำดับ อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ผลการตรวจคัดกรองฯ ปกติ ผิดปกติพบก้อน ผิดปกติอื่นๆ ไม่ได้ตรวจเต้านม จำนวน ร้อยละ 1 เมืองเชียงใหม่ 17,634 7,119 40.37 7,073 99.35 17 0.24 2 0.03 - จอมทอง 16,246 12,964 79.80 12,944 99.85 11 0.08 3 แม่แจ่ม 11,191 7,092 63.37 7,088 99.94 0.04 4 เชียงดาว 19,541 9,768 49.99 9,712 99.43 24 0.25 13 0.13 5 ดอยสะเก็ด 17,808 16,192 90.93 16,120 99.56 35 0.22 0.02 6 แม่แตง 16,961 14,255 84.05 14,234 12 9 0.06 7 แม่ริม 19,771 17,498 88.50 17,463 99.80 19 0.11 10 8 สะเมิง 5,157 4,323 83.83 4,255 98.43 47 1.09 0.14 0.28 ฝาง 20,496 19,856 96.88 19,703 99.23 90 0.45 37 0.19 0.01 แม่อาย 14,604 9,826 67.28 9,819 99.93 0.07 พร้าว 11,061 9,241 83.55 9,235 สันป่าตอง 21,685 20,182 93.07 20,073 99.46 97 0.48 สันกำแพง 19,065 16,841 88.33 16,627 98.73 0.53 44 0.26 23 14 สันทราย 31,728 10,779 33.97 10,610 0.05 160 1.48 15 หางดง 19,245 16,845 87.53 16,835 16 ฮอด 10,241 8,123 79.32 8,092 99.62 31 0.38 ดอยเต่า 6,281 4,076 64.89 4,056 99.51 0.12 18 อมก๋อย 11,695 8,702 74.41 8,206 94.30 487 5.60 สารภี 25,966 19,113 73.61 ส่งทาง เวปไซด์ โครงการถันยรักษ์ โดยตรง 20 เวียงแหง 6,837 1,342 19.63 1,339 99.78 21 ไชยปราการ 9,748 7,162 73.47 100.00 22 แม่วาง 7,902 5,235 66.25 5,191 99.16 0.44 แม่ออน 5,037 4,989 99.05 4,972 99.66 ดอยหล่อ 6,833 6,304 92.26 6,261 99.32 0.30 25 กัลยาณิวัฒนา 2,403 1,276 53.10 1,267 99.29 0.16 26 รพ.เอกชน 5,741 2,177 37.92 2,153 98.90 1.72 0.96 รวมทั้งหมด 360,877 261,280 72.40 238,337 91.22 561 0.21 146 703 0.27 กรณีไม่รวม อ.สารภี 334,911 242,167 72.31 98.42 546 0.23 165 704 0.29
45
ส่งไฟล์ Popdta_register ไปยัง ส่งไฟล์ Popdata_exam ไปยัง สสจ.เชียงใหม่
สรุปผลการส่งข้อมูลรายงานโครงการสืบสานพระราชปณิธานฯ ของสถานบริการสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ ลำดับ อำเภอ ส่งไฟล์ Popdta_register ไปยัง ส่งไฟล์ Popdata_exam ไปยัง สสจ.เชียงใหม่ โครงการถันยรักษ์ สสจ.เชียงใหม่ 30 พย 59 30 ธค 59 31 มีค 60 30 มิย 60 30 กย 60 จำนวน(แห่ง) ร้อยละ 1 เมืองเชียงใหม่ 8 7 87.50 12.50 2 จอมทอง 17 16 94.12 14 82.35 3 แม่แจ่ม 12 100 11 91.67 58.33 4 เชียงดาว 13 92.31 15.38 5 ดอยสะเก็ด 15 93.33 6 แม่แตง - 0.00 แม่ริม 92.86 7.14 สะเมิง 71.43 9 ฝาง 93.75 10 แม่อาย พร้าว 47.06 สันป่าตอง 19 18 94.74 5.26 สันกำแพง 9.09 สันทราย 64.29 85.71 14.29 หางดง 78.57 ฮอด 83.33 ดอยเต่า 77.78 88.89 อมก๋อย สารภี ส่งทาง เวปไซด์ โครงการถันยรักษ์ โดยตรง 20 เวียงแหง 25.00 21 ไชยปราการ 22 แม่วาง 23 แม่ออน 24 ดอยหล่อ 25 กัลยาณิวัฒนา 80.00 26 รพ.เอกชน 60 20.00 รวม 297 272 91.58 260 87.54 123 41.41
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.