งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

C Programming By Mr. Sanae Sukprung.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "C Programming By Mr. Sanae Sukprung."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 C Programming By Mr. Sanae Sukprung

2 รู้จักกับภาษา C ภาษา C เป็นภาษาที่เก่าแก่ ซึ่งถูกพัฒนาเพื่อให้เป็นภาษาสำหรับการสร้างระบบปฏิบัติการ UNIX เพราะของเดิมนั้นเขียนด้วยภาษา Assembly ซึ่งเป็นภาษาที่ยึดติดกับ H/W จึงทำให้ย้ายระบบปฏิบัติการไปทำงานกับเครื่องอื่น ๆ เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ C Programing

3 ดังนั้น ภาษา C จึงเป็นภาษาที่ไม่ยึดติดกับ H/W และในปัจจุบันยังไม่ยึดติดกับการสร้างระบบปฏิบัติการเท่านั้น แต่ยังนำไปสร้างโปรแกรมเพื่องานทุกประเภทได้ C Programing

4 จุดเด่นของภาษา C เป็นภาษาที่มีการกำหนดมาตรฐานสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกรุ่น เป็นภาษาที่ระบบปฏิบัติการทุกตัวยอมรับ เป็นภาษาที่มีโครงสร้างที่ดี และความชัดเจนของเครื่องหมายสำหรับดำเนินการ C Programing

5 สามารถเขียนคำสั่งภาษา C เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ H/W บางส่วนได้
มี Function สำเร็จรูป สำหรับงานประเภทต่าง ๆ ให้เลือกใช้มากมาย C Programing

6 การแบ่งระดับตามลักษณะและการทำงาน
1. ภาษาระดับต่ำ (LOW LEVEL Language) เป็นภาษที่ใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมากที่สุด สามารถเขียนคำสั่งเพื่อติดต่อสั่งงานกับอุปกรณ์ H/W ได้โดยตรง ซึ่งได้แก่ ภาษา Assambly ตัวอย่าง ของ Assambly MUL R1, D STO R1, TEMP1 LOD R1 ,B ADD R1,TEMP1 C Programing

7 การแบ่งระดับตามลักษณะ และการทำงาน (ต่อ)
การแบ่งระดับตามลักษณะ และการทำงาน (ต่อ) 2. ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากที่สุด คำสั่งต่าง ๆ จึงมักเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้จดจำและเขียนได้ง่าย เช่น ภาษา Pascal, Cobol, Fortran หรือ Basic เป็นต้น C Programing

8 การแบ่งระดับตามลักษณะ (ต่อ)
3. ภาษาระดับกลาง (Middle Level language) ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดยเอาข้อดีและข้อเสียของ 2 ระดับมาใช้ คือ คำสั่งของภาษา C เป็นคำสั่งที่มีความหมายใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ และยังสามารถติดต่อกับ H/W ได้รวดเร็ว ดังนั้นภาษา C จึงถูกจัดให้เป็นภาษาระดับกลาง C Programing

9 หลักในการแปลภาษา แบ่งได้ 2 วิธี คือ 1. แปลทีละคำสั่ง
แบ่งได้ 2 วิธี คือ 1. แปลทีละคำสั่ง ตัวแปลลักษณะนี้จะเรียกว่า Interpreter โดยจะทำงานแบบเป็นคำสั่งต่อคำสั่ง นั่นคือจะอ่านคำสั่งจากโปรแกรมมา 1 คำสั่ง และทำงานตามคำสั่งนั้นทันที Print “Hello Link \n ”; print “How are you?”; Hello Link Interpreter C Programing

10 หลักในการแปลภาษา (ต่อ)
2. แปลทีเดียวตั้งแต่ต้นจนจบ ตัวแปลลักษณะนี้จะเรียกว่า Compiler หลักการทำงานเริ่มจากคอมไพล์เลอร์จะทำการตรวจสอบคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม เพื่อดูว่ามีส่วนใดผิดจากหลักการของภาษานั้นหรือไม่ ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดคอมไพเลอร์จะทำการแปลคำสั่งทั้งหมดในโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องแล้วจึงทำงาน Print “Hello Link \n ”; print “How are you?”; Hello Link How are You Compiler C Programing

11 ภาษา C เบื้องต้น

12 จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้
โครงสร้างของภาษา C จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ ส่วนหัวของโปรแกรมซึ่งเป็นส่วนของ การกำหนดค่าเริ่มต้น และประกาศตัวแปร 1 ส่วนของตัวโปรแกรมซึ่งเริ่มจาก Main() ซึ่งอาจจะมีการเรียกใช้ Function อื่น ๆ ก็ได้ 2 C Programing

13 ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมภาษา C
#include <stdio.h> main() { printf(“Hello World\n”); } Head Body C Programing

14 ส่วนหัวของโปรแกรม ส่วนหัวของโปรแกรมจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรทัดแรกของโปรแกรมจนมาสิ้นสุดที่บรรทัดก่อน Main() จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ 1. คำสั่งพิเศษ (Preprocessor Directive) 2. การประกาศตัวแปร (Declaration) C Programing

15 #include <stdio.h> int x =4; main() { printf(“Hello World\n”); }
1 2 C Programing

16 Preprocessor directive
เป็นคำสั่งรูปแบบหนึ่งของภาษา C ที่มีความพิเศษ โดยในขั้นตอนการแปลความหมายของโปรแกรม ถ้าตัวแปลภาษา C ตรวจพบว่ามีการใช้ Preprocessor ภายในโปรแกรม ก็จะถูกแปลความหมายเป็นลำดับแรกก่อนคำสั่งอื่น ๆ รูปแบบของการเขียน Preprocessor จะต้องขึ้นต้นเครื่องหมาย # แต่ไม่ต้องลงท้ายด้วยเครื่อง ; เหมือนคำสั่งอื่น ๆ ทั่วไป C Programing

17 Preprocessor directive (ต่อ)
#Include #Define #Error #if #Endfi #Elid #Else #ifdef #ifndef #undef #Line #Pragma C Programing

18 การประกาศตัวแปร #include <Stdio.h> int a= 5; int b= 10;
int c; main() { c= a+b; printf (“sum = %d\n”, c); } ตัวแปรจำนวนเต็ม หาผลบวก แสดงผลบวก C Programing

19 รูปแบบการเขียนคำสั่งภาษา C
ทุกคำสั่งต้องลงท้ายด้วย ; สามารถเขียนคำสั่งได้อย่างอิสระ เช่น int a = 5; int b = 10; printf (Sum = %d\n”, a+b); C Programing

20 คำบรรยายแทรก (Comment)
C Programing

21 #include <stdio.h> main() { printf (“Hello World\n”);
/* Display message Hello world to the Monitor */ } C Programing

22 ข้อมูลและตัวแปรในภาษา C

23 ชนิดของข้อมูลในภาษา C
ข้อมูลเลขจำนวนเต็ม (Integer) ข้อมูลเลขทศนิยม (Float) ข้อมูลชนิดเลขฐานแปด (Octal) ข้อมูลชนิดเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) ข้อมูลชนิดตัวอักขระ (Character) ข้อมูลชนิดข้อความ (String) C Programing

24 ตัวแปรและหน้าที่ของตัวแปร
ตัวแปร (Variable) คือ การจองที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำหลัก (RAM) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมกับกำหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจำในตำแหน่งนั้น อย่างเช่น ถ้าเราสร้างตัวแปรขึ้นมา 1 ตัวโดยใช้ชื่อ num สำหรับเก็บค่าของตัวเลข 16 เมื่อต้องการนำค่า 16 มาใช้ เราก็เพียงแต่เรียกชื่อ num ซึ่งภาษา C จะแปลความหมายได้ถูกต้องว่ามีค่าเท่ากับ 16 C Programing

25 ชนิดของตัวแปรในภาษา C
สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ตัวแปรแบบพื้นฐาน (Scalar) ซึ่งหมายถึงที่เก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียวเช่น C Programing

26 C Programing

27 รูปแบบการประกาศตัวแปร
Type variable; type : ชนิดของตัวแปรที่จะสร้างขึ้น variable : ชื่อของตัวแปรที่ต้องการจะใช้ int num; float y; char c; double salary; ตัวอย่าง C Programing

28 รูปแบบการประกาศตัวแปร (ต่อ)
Type variable = value; long million = ; int oct = 0234; int hex = 0x45; float temp = ; double stat = 1.25e-02; char ch =‘#’; ตัวอย่าง C Programing

29 Type variable-1, variable-2,... variable-n;
รูปแบบการประกาศตัวแปร (ต่อ) Type variable-1, variable-2,... variable-n; type : ชนิดของตัวแปรที่จะสร้างขึ้น variable-1... Variable-n : ชื่อของตัวแปรที่ต้องการจะใช้ int num1,num2,num3; float point1, point2,point3 = 12.00; char a,b = ‘B’, c,d =‘D’; ตัวอย่าง C Programing

30 หลักการตั้งชื่อตัวแปร
ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _ เท่านั้น ความยาวต้องไม่เกิน 32 ตัวอักษร ภายในชื่อตัวแปรให้ใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือ 0-9 หรือ _ ห้ามเว้นช่องว่างภายในตัวแปร หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2 การใช้ตัวอักษรตัวใหญ่ และตัวเล็ก มีความแตกต่างกัน ห้ามตั้งชื่อตัวแปรซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word) C Programing

31 คำสงวน (Reserved Word)
auto break case char const continue default do double else if int long register return short signed sizeof static struct switch typedef union unsigned void volatile while C Programing

32 ตัวอย่างการตั้งชื่อตัวแปร
class_room hi-tech 9number _hello123 age# right! last name ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง C Programing

33 ตัวแปรสำหรับข้อมูลชนิดข้อความ
char variable[n]; n : คือจำนวนของตัวแปรชนิดอักขระ (Char) ที่จะสร้างขึ้น โดยถ้าข้อความมีอักขระทั้งหมด 10 ตัว จะต้องใส่จำนวนเป็น 11 เนื่องจากภาษา C มีข้อกำหนดว่าจะเก็บข้อมูลชนิดข้อความ ตัวสุดท้ายต้องเป็นอักขระว่าง ซึ่งจะเขียนแทนด้วย \0 เพื่อบอกให้รู้ว่าเป็นข้อความ Variable : ชื่อของตัวแปร โดยต้องตั้งชื่อให้ถูกต้องตามหลักการตั้งชื่อ char name [10]; C Programing

34 คำสั่งที่ใช้ในการแสดงผล และการรับข้อมูล
printf() รูปแบบ printf (“ control”,value); C Programing

35 control : ส่วนที่ใช้ควบคุมการแสดงผล ซึ่งมีอยู่ 3 แบบด้วยกัน คือ ข้อความธรรมดา รหัสควบคุมรูปแบบ (เช่น %d, %f) และอักขระควบคุมการแสดงผล(เช่น \n) โดยส่วนที่ใช้ควบคุมการแสดงผลเหล่านี้จะต้องเขียนไว้ภายใน “ “ value : คือ ค่าของเครื่องหมาย นิพจน์ หรือมาโครที่ต้องการแสดงผล โดยถ้ามีมากกว่าหนึ่งตัวให้ใช้เครื่องหมาย , (comma) คั่นระหว่างแต่ละตัว C Programing

36 #include <stdio.h> main() { printf (“Nice to meet you!”); }
ตัวอย่าง /* Ex1 */ #include <stdio.h> main() { printf (“Nice to meet you!”); } C Programing

37 #include <stdio.h> int num = 32; main() { printf (num); }
ตัวอย่าง /* Ex2 */ #include <stdio.h> int num = 32; main() { printf (num); } C Programing

38 รหัสรูปแบบ (Format Code)
%u สำหรับการแสดงผลตัวเลขจำนวนเต็มบวก %o สำหรับการแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานแปด %x สำหรับการแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานสิบหก %f สำหรับการแสดงผลตัวเลขทศนิยม %e สำหรับการแสดงผลตัวเลขทศนิยมออกมาในรูปแบบ E %c สำหรับแสดงผลอักขระ 1 ตัว %s สำหรับแสดงผลข้อความ %p สำหรับการแสดงผลตัวชี้ตำแหน่ง C Programing

39 ตัวอย่าง /* EX 3 */ #intclude <Stdio.h>
int x1 = 43, x2 = 0x77, x3 = 0573; float y1 = , y2 = 1.25e02; char z = ‘A’; char name[11] = “Sriwattana” main() { printf (“%d“, x1); printf (“%x %o “,x2, x3); printf (“%f %e “, y1,y2); printf (“%c %s “, z, name); } C Programing

40 อักขระควบคุมการแสดงผล
\n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 Tab (6 ตัวอักษร) \r กำหนดให้ Cursor ไปอยู่ต้นบรรทัด \f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ \b ลบอักขระตัวท้ายสุดออก 1 ตัว C Programing

41 #include <stdio.n> #define PUBLISH “infopress”
ตัวอย่าง #include <stdio.n> #define PUBLISH “infopress” int x1 =14, x2 = 5; main() { printf (“This is the book from %s\n”, PUBLISH); printf(“Sum of %d + %d =\t%d\n”,x1, x2, x1+x2); } C Programing

42 รับข้อมูลจาก Keyboard ด้วย scanf()
รูปแบบ scanf (“ format “ , &variable); C Programing

43 format : เป็นการกำหนดรูปแบบ ของข้อมูลที่จะรับเข้ามา โดยจะใช้รหัสรูปแบบเหมือนกับ printf ()
variable : ตัวแปรที่ใช้สำหรับรับข้อมูลเข้ามา โดยจะต้องเขียนนำหน้าด้วยเครื่องหมาย & ยกเว้นตัวแปรที่จะเก็บข้อความเท่านั้น C Programing

44 #include <stdio.h> int age; main () { clrscr( );
ตัวอย่าง /* EX 4 */ #include <stdio.h> int age; main () { clrscr( ); printf (“How Old are you?”); scanf (“%d”,&age); printf (“You are %d years old. \n”,age); } C Programing

45 แสดงผลทีละอักขระด้วย putchar()
รูปแบบ putchar(char); char : เป็นตัวแปรชนิด char หรืออักขระที่เขียนภายในเครื่องหมาย ‘ ‘ C Programing

46 ตัวอย่าง การใช้คำสั่ง putchar( )
#include <stdio.h> char first = ‘0’; main() { clrscr(); putchar(first); putchar(‘k’); } เรียกใช้ Function Clrscr แสดงข้อความในตัวแปร First แสดงตัวอัการ k C Programing

47 แสดงผลเป็นข้อความด้วย puts()
รูปแบบ puts(str); str : เป็นตัวแปรชนิดข้อความ หรือข้อความที่เขียนภายในเครื่องหมาย “ “ C Programing

48 ตัวอย่าง การใช้คำสั่ง puts( )
#include <stdio.h> char message[ ] = “C Language”; main() { clrscr(); puts(message); puts(“easy & fun”); } C Programing

49 รับข้อมูลทีละอักขระด้วย getchar()
รูปแบบ variable = getchar(); variable : ชื่อของตัวแปรชนิดอักขระ ซึ่งจะใช้เก็บค่าที่รับเข้ามาจาก Keyboard C Programing

50 ตัวอย่างของการใช้ getchar()
#include <stdio.h> char x; main() { clrscr(); printf (“Enter you favorite letter : “); x = getchar(); printf (“You insert : %c”,x); } C Programing

51 รับข้อมูลทีละอักขระด้วย getch()
รูปแบบ variable = getch(); variable : ชื่อของตัวแปรชนิดอักขระ ซึ่งจะใช้เก็บค่าที่รับเข้ามาจาก Keyboard C Programing

52 ตัวอย่างของการใช้ getch()
#include <stdio.h> char x; main() { clrscr(); printf (“Enter you favorite letter : “); x = getch(); printf (“You insert : %c”,x); } C Programing

53 รับข้อมูลเป็นข้อความด้วย gets()
รูปแบบ gets(str); Str : ตัวแปรที่จะใช้เก็บข้อความ ซึ่งเราต้องสร้างเตรียมไว้ก่อนที่จะเรียกใช้ Function gets() C Programing

54 ตัวอย่างของการใช้ gets()
#include <stdio.h> char message[30]; main() { clrscr(); printf (“Enter your message: ”); gets (message); printf (“Your message is %s”,message); } C Programing

55 เครื่องหมาย และการดำเนินการในภาษา C

56 เครื่องหมายการคำนวณทางคณิตศาสตร์
“+” เช่น z = x + y หมายถึง บวกค่าที่อยู่ในตัวแปร x และ y มาเก็บไว้ที่ตัวแปร z “-” เช่น z = x - y หมายถึง ลบค่าที่อยู่ในตัวแปร x และ y มาเก็บไว้ที่ตัวแปร z “ * ” เช่น z = x * y หมายถึง คูณค่าที่อยู่ในตัวแปร x และ y มาเก็บไว้ที่ตัวแปร z “/” เช่น z = x / y หมายถึง หารค่าที่อยู่ในตัวแปร x และ y มาเก็บไว้ที่ตัวแปร z “%” เช่น z = x % y หมายถึง หารค่าที่อยู่ในตัวแปร x และ y มาเก็บไว้ที่ตัวแปร z โดยที่ค่าที่เก็บคือเศษที่ได้มาจากการหาร C Programing

57 ตัวอย่าง /* Ex 4.1*/ #include <Stdio.h> int x = 5; int y = 2;
int sum, diff, mul, mod; float div; main () { sum = x + y; diff = x - y; mul = x * y; div = x / y; mod = x % y ; } C Programing

58 เครื่องหมายดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่เพิ่ม ลบทีละ 1 ค่า
“++” y = ++x หมายถึง บวกค่าในตัวแปร x ก่อน 1 ค่า แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปเก็บไว้ที่ y หรือ y = x++ หมายถึง นำค่าของ x ไปเก็บไว้ที่ y ก่อน แล้วค่อยบวกค่าในตัวแปร x 1 ค่า “--” y = --x หมายถึง ลบค่าในตัวแปร x ก่อน 1 ค่าแล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปเก็บไว้ที่ y หรือ y = x-- หมายถึง นำค่าของ x ไปเก็บไว้ที่ y ก่อน แล้วค่อยลบค่าในตัวแปร x 1 ค่า C Programing

59 ตัวอย่าง x , y มีค่าเท่ากับ 5 z มีชนิดข้อมูลเป็น Integer x = z = 6
/* Ex 4.1*/ #include <Stdio.h> int x,y = 5; int z; main () { z = ++x; z = y++; } x , y มีค่าเท่ากับ 5 z มีชนิดข้อมูลเป็น Integer x = z = 6 z = 5 , y = 6 C Programing

60 เครื่องหมายดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ลดรูป
+= เช่น y+=x หมายถึง y = y+x -= เช่น y-=x หมายถึง y = y-x *= เช่น y*=x หมายถึง y = y*x /= เช่น y/=x หมายถึง y = y/x %= เช่น y%=x หมายถึง y = y%x C Programing

61 เครื่องหมายการเปรียบเทียบ
= = หมายถึง เท่ากับ เช่น x == y != หมายถึง ไม่เท่ากับ เช่น x != y < หมายถึง น้อยกว่า เช่น x < y <= หมายถึง น้อยกว่าหรือเท่ากับ เช่น x <= y > หมายถึง มากกว่า เช่น x > y >= หมายถึง มากกว่า หรือเท่ากับ เช่น x >= y C Programing

62 เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์
&& เรียกว่า and สรุป and จะได้ผลลัพท์ออกมาเป็นจริง ถ้าค่าที่นำมาก && กันเป็นจริงทั้งคู่ C Programing

63 เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์ (ต่อ)
|| เรียกว่า OR สรุป OR จะได้ผลลัพท์ออกมาเป็นเท็จ ถ้าค่าที่นำมาก || กันเป็นเท็จทั้งคู่ C Programing

64 เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์ (ต่อ)
! เรียกว่า NOT สรุป not จะได้ผลลัพท์ออกมาตรงกันข้ามกัน C Programing

65 ทำความรู้จักกับนิพจน์ (Expression)
นิพจน์ คือ การนำข้อมูลซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของค่าคงที่หรือตัวแปรมาดำเนิน การโดยใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสั่งการ ตัวอย่างของนิพจน์ 5 + 3 = 8 , b2 - 4ab , ax2 + bx +c การเขียนนิพจน์ในภาษา C นิพจน์ในภาษา C ก็คือ การนำข้อมูลหรือตัวแปรในภาษา C มาดำเนินการ โดยใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรือเครื่องหมายเปรียบเทียบ ที่มี ความหมายในภาษา C เป็นตัวสั่งการ C Programing

66 ตัวอย่าง การเขียนนิพจน์ในภาษา C
C Programing

67 ลำดับของเครื่องหมายในการคำนวณ
C Programing

68 การเปลี่ยนชนิดตัวแปร
การเปลี่ยนชนิดตัวแปรโดยอัตโนมัติ สำหรับการเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ หรือเรียกว่า Implicit Casting เราไม่ต้อง ทำอะไร ตัวแปรภาษา C จะจัดการให้ทั้งหมด โดยใช้หลักการเปลี่ยนชนิดตัวแปร ที่มีขนาดเล็กกว่า ไปเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่า int x = 5; float y = 2.5; float z ; main() { z = x +y; } ตัวแปรเลขจำนวนเต็ม ตัวแปรเลขทศนิยม ตัวแปรเลขทศนิยม บวกค่าของตัวแปรต่างชนิด C Programing

69 การเปลี่ยนชนิดตัวแปร (ต่อ)
เปลี่ยนโดยใช้คำสั่ง รูปแบบ (typecast) variable; typecast หมายถึง ชนิดของตัวแปรที่ต้องการจะเปลี่ยนไปใช้ variable หมายถึง ตัวแปรหรือข้อมูลที่ต้องการจะเปลี่ยนชนิด C Programing

70 ตัวอย่าง int x = 32; float y = 1.25e3; char z = ‘C’ int num1;
float num2; num1 = (int)y; num1 = (int)z; num1 = (int) ; num1=(int)’A’; num2=(float)x; num2=(float)-125; num2=(float)z; เปลี่ยนจาก float เป็น int เปลี่ยนจาก char เป็น int เปลี่ยนจาก float เป็น int เปลี่ยนจากตัวขระ เป็น int เปลี่ยนจาก int เป็น float เปลี่ยนจากเลขจำนวนเต็มลบ เป็น float เปลี่ยนจาก char เป็น float C Programing

71 ขอความสั่งควบคุม

72 ขอความสั่งควบคุม แบงเปนกลุมใหญ ๆ ได 2 กลุม คือ
1. ขอความสั่งวงวน (loop statements) 2. ขอความสั่งมีเงื่อนไข (conditional statements) (Schildt 1968:63) C Programing

73 ขอความสั่งวงวน ขอความสั่งวงวนที่ใชงานในภาษาซี ไดแก
1. ขอความสั่ง while 2. ขอความสั่ง do/while 3. ขอความสั่ง for C Programing

74 ขอความสั่ง while ใชสั่งใหทํางานเปนวงวนจนกวาเงื่อนไขที่กําหนดจะเปนเท็จจึงจะหยุดการวน รูปแบบ while (เงื่อนไข) { ขอความสั่งที่ 1 ; ขอความสั่งที่ 2 ; ขอความสั่งที่ 3 ง ; ; } C Programing

75 ทิศทางการทำงานของ while
รูปแสดงการทำงาน Statement ของ while Condition เท็จ จริง C Programing

76 ตัวอยางโปรแกรม #include <stdio.h> int i=1; main ( ) {
while(i<=5) printf(“COMPUTER\n”); i++ ; } printf (“End of loop.\n”); C Programing

77 ตัวอยางโปรแกรมพิมพสูตรคูณ
#include <stdio.h> int i=1; main ( ) { while (i<=12) printf (“ 25x %d = %3d\n”,I,I*25); I++ ; } printf (“End of loop.\n”); C Programing

78 ขอความสั่ง do/while ขอความสั่งวงวนแบบนี้จะเริ่มทําตามขอความสั่งในบล็อกกอน 1 รอบแลวจะตรวจสอบเงื่อนไขของขอความสั่ง while ถาเปน จริงก็วนกลับไปทําตามขอความสั่งทั้งหมดในบล็อก แลวตรวจสอบเงื่อนไขอีก ถาเปนเท็จก็จะเลิกการทําซํ้า แลวขามไปทําตามข้อความสั่งที่เหลือในโปรแกรมตอไปจนจบ C Programing

79 รูปแบบของคำสั่ง do/while
{ ขอความสั่งที่ 1 ; ขอความสั่งที่ 2 ; ขอความสั่งที่ 3 ง ; ; } while (เงื่อนไข); C Programing

80 ทิศทางการทำงานของ do/while
รูปแสดงการทำงาน Statement ของ while Condition เท็จ จริง C Programing

81 ตัวอยางโปรแกรม #include <stdio.h> int i=1; main ( ) { do
printf(“COMPUTER\n”); I ++; } while (i<=5); printf (“End of loop.\n”); C Programing

82 ตัวอยางโปรแกรมพิมพสูตรคูณ
main ( ) { int i=1; do printf (“ 25 x %2d = %3d\n”,i,i*25); i++ ; } while (i<=10); printf (“End of loop.\n”); C Programing

83 ขอความสั่ง for ขั้นตอนการทำงานของ for 1. กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร
2. กำหนดเงื่อนไขที่ใช้ในการตรวจสอบ 3. ปฏิบัติตามเงื่อนไข 3.1 ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงให้ทำตามคำสั่งภายใน Loop for 3.2 ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จให้ออกจาก Loop for 4. เพิ่ม/ลด ค่าของตัวแปร 5. ย้อนกลับไปทำที่ข้อ 3 C Programing

84 รูปแบบของ for for (ค่าเริ่มต้น;เงื่อนไขที่ใช้ตรวจสอบ;การเพิ่ม/ลดค่าตัวแปร) { statement1; statement2; statement3; ………………; } C Programing

85 ทิศทางการทำงานของ for
กำหนดค่าเริ่มต้น เท็จ Condition จริง ทำงานตามคำสั่งของ for เปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปร C Programing

86 ตัวอยางโปรแกรม main ( ) { int i: for (i=1;i<=5;i++)
printf(“COMPUTER\n”); printf(“End of loop.\n”); printf(“ i = %d\n”,i); } C Programing

87 ตัวอยางโปรแกรม for ที่มี 2 ขอความสั่งขึ้นไป
main ( ) { int i; for(i=1;i<=5;i++) printf (“COMPUTER\n”); printf(“ i = %d\n”,i); } printf (“End of loop.\n”); printf (“ i = %d\n”,i); C Programing

88 ตัวอย่างโปรแกรม main ( ) { int i: for (i=5;i>0;i --)
printf (”COMPUTER\n”); printf (“End of loop.\n”); } C Programing

89 การกําหนดตัวแปรที่มีการเปลี่ยนคาไวมากกวา 1 ตัว
ในภาษาซีมีวิธีกําหนดตัวแปรไวในเงื่อนไขไดมากกวา 1 ตัว โดยใช , คั่นตัวแปรไว แตการกําหนดตัวแปรควบคุมในเงื่อนไขจะตองใชตัวแปรตัวเดียวเทานั้น C Programing

90 ตัวอยางกําหนดตัวแปร 2 ตัวไวในวงเล็กหลัง for
main ( ) { int i,j; for (i=1 , j=10;i<=5;i++,j+=10) printf (“%d x%d = %d\n”,i,j,i*j); printf (“End of loop.”)’ } C Programing

91 ตัวอยางกําหนดตัวแปร 3 ตัวไวในวงเล็กหลัง for
main ( ) { int i,j,k; for iI=1,j=10,k=100;i<=5;i++,j+=10,k-=30) printf (“%d x %2d x %4d = %6d\n”,i,j,k,i*j*k); printf (“End of loop.\n”); } C Programing

92 ขอความสั่งมีเงื่อนไข
ขอความสั่งมีเงื่อนไขไดแก if / else switch/case C Programing

93 เครื่องหมายเปรียบเทียบ
> มากกวา >= มากกวาหรือเทากับ < นอยกวา <= นอยกวาหรือเทากับ = = เทากัน != ไมเทากัน && AND (และ) || OR (หรือ) ! NOT C Programing

94 กำหนดค่าเริ่มต้น เท็จ จริง START Condition Statement ; Statement ;
STOP C Programing

95 ขอความสั่ง if/else If (เงื่อนไข) {
ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไขเปนจริง */ ; } else ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไขเปนเท็จ */ ; C Programing

96 ขอความสั่ง if/else แบบซอนกัน (nested if)
{ ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 1 เปนจริง */ ขอความสั่ง ; ; } else /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 1 เปนเท็จ */ if (เงื่อนไข 2) ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 2 เปนจริง */ else ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 2 เปนเท็จ */ ; C Programing

97 ขอความสั่ง Switch/case/bread/default
เปนขอความสั่งประเภทที่มีการตรวจสอบคาของนิพจนหรือคาของตัวแปรที่รับมาวาสอดคลองกับกรณีใดก็จะปฏิบัติงานตามกรณีนั้น แลวออกจากวงวน เมื่อพบคําสั่ง break เพื่อทําตาม ขอความสั่งที่มีตอจากวงวนนั้น จนกวาจะจบโปรแกรม C Programing

98 รูปแบบ Switch/Case switch (นิพจน หรือ ตัวแปร) {
ขอความสั่ง 1; ขอความสั่ง 2; ; break; case (คาของนิพจนหรือตัวแปร คาที่ 2) : ; . default : ขอความสั่ง ; } C Programing


ดาวน์โหลด ppt C Programming By Mr. Sanae Sukprung.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google