งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แพทย์หญิงประภาภรณ์ เพชรมาก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แพทย์หญิงประภาภรณ์ เพชรมาก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แพทย์หญิงประภาภรณ์ เพชรมาก

2 R ชนิดของการคุมกำเนิด Implants ชั่วคราว ธรรมชาติ Hormonal Barrier IUD
ถาวร Permanent sterilization R

3

4 Abstinence ประสิทธิภาพ 100% ขึ้นอยู่กับการตกลงของคู่สมรส

5 Reasons for abstaining
ศาสนา ความเชื่อ ทางการแพทย์ ความสัมพันธ์ของคู่สมรส การวางแผนร่วมกันของคู่สมรส

6 การนับวันปลอดภัย

7

8 การหลั่งภายนอก Removal of penis from the vagina before ejaculation occurs NOT a sufficient method of birth control by itself Effectiveness rate is 80% (very unpredictable in teens, wide variation) 1 of 5 women practicing withdrawal become pregnant Very difficult for a male to ‘control’

9

10 Hormonal Methods Injections The Patch Implants Oral Contraceptives
(Birth Control Pill) Injections The Patch Implants

11 ยาเม็ดคุมกำเนิด ป้องกันการตั้งครรภ์แต่ไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ถ้าทานถูกวิธีและยาไม่หมดอายุ ประสิทธิภาพถึง 99% ควรตรวจมะเร็งปากมดลูกสม่ำเสมอ

12 How does the pill work? Stops ovulation Thins uterine lining
Thickens cervical mucus

13 ประโยชน์ของยาเม็ดคุมกำเนิด
Prevents pregnancy ลดการปวดประจำเดือน Shortens period Regulates period Decreases incidence of ovarian cysts Prevents ovarian and uterine cancer Decreases acne

14 ยาคุมกำเนิดแบบธรรมดาแบ่งได้ 2 ชนิด
 1. ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม (Combined oral contraception) หมายถึง ยาคุมที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจส-โตเจนเท่ากัน แบ่งได้ 2 ประเภท 1.1 Monophasic or Fixed dose pill มีระดับปริมาณฮอร์โมนรวมเท่ากัน แยกได้ 3 ประเภท High dose Low dose Ultralow dose

15 รักษาอาการคนไข้ทางนรีเวชเท่านั้นมีระดับ Estrogen 50-100 µg
High dose ใช้กันมากที่สุด มีระดับ Estrogen µg เช่น Diane, Preme หรือ Yasmin เป็นต้น Low dose มีระดับ Estrogen 20 µg ข้อดีอาการข้างเคียงจาก estrogen มีน้อย ข้อเสียต้องกินสม่ำเสมอห้ามขาด เช่น Mercilon และ Meliane Ultralow dose

16  1. ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม(ต่อ)
(Combined oral contraceptions)  1.2 Multiphasic pills ยาคุมที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสโตเจนไม่เท่ากัน เรียกว่า Triphasic หรือ Three steps pills ซึ่งการกินยาจะต้องกินเรียงตามลำดับ เช่น Triquilar และ Oilezz

17  2. ยาคุมกำเนิดชนิดที่มีแต่โปรเจสโตรเจน
(micro oral contraception) หมายถึง ยาคุมที่มีฮอร์โมนโปรเจสโตเจนเท่านั้น ไม่มีเอสโตรเจน ยาชนิดนี้ไม่มีผลต่อแม่ลูกอ่อน ต่อระบบหัวใจ และหลอดเหลือ แต่จะมีประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดต่ำ ยับยั้งไข่ตกได้ไม่ดี

18 วิธีการกินยาคุมกำเนิด
ชนิด Low dose ควรเริ่มทานยาเม็ดแรกหลังวันแรกของการมีประจำเดือน 5 วัน หากช้ากว่านั้นจะไม่สามารถยับยั้งไข่ตกได้ทันต้องรอรอบเดือนต่อไป ปกติยาคุมกำเนิดจะมีแบบแผง 21 และ 28 เม็ด แตกต่างกันตรงที่แผง 28 เม็ด ยา 7 เม็ด สุดท้ายไม่มีตัวยาอยู่ ปกติเมื่อกินยาครบ 21 เม็ด แล้วต้องเว้นระยะนาน 7 วันเพื่อให้รอบเดือนมาแล้วค่อยเริ่มกินแผงต่อไปในวันที่ 8

19

20

21 วิธีการกินยาคุมกำเนิด
ชนิด Ultralow dose ควรเริ่มทานยาเม็ดแรกในวันที่มีประจำเดือน

22 หากลืมกินยาคุมกำเนิด
1. ลืมกิน 1 เม็ด ให้กินเม็ดที่ลืมทันที หากนึกได้เวลาที่ต้อง กินอีกเม็ดให้กินสองเม็ดพร้อมกัน 2. ลืมกิน 2 เม็ด ให้กิน 2 เม็ดที่ลืม โดยเม็ดแรกกินในเช้าวันรุ่งขึ้น เม็ดที่สองในเช้าวันต่อไป และหลังจากนั้นก็กินตามปกติในตอนเย็น แต่กรณีที่ลืมเช่นนี้ อาจทำให้รอบเดือนมากระปริบกระปรอยได้ 3. ลืมกิน 3 เม็ด ให้รอรอบเดือนมาแล้วค่อยเริ่มกินใหม่ 4. ลืมกินยาในช่วงท้ายๆ หรือใกล้หมดแผงจะไม่มีผลมาก

23 การเลือกกินยาคุมกำเนิดให้เหมาะสมกับตัวเอง
ผู้หญิงแต่ละคนต่างมีระดับฮอร์โมนในร่างกายที่แตกต่างกันไป สามารถแยกได้ 3 ประเภท 1. ประเภท Estrogenic เช่น รอบเดือนออกมากแต่ระยะรอบ เดือนสั้น อ้วน ไม่มีขน ต้องกินยาคุมที่มี progestogen มาก 2. ประเภทปกติ รอบเดือนมาสม่ำเสมอ ออกไม่มาก น้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

24 3. ประเภท Progestogenic เช่น รอบเดือนออกน้อยแต่ระยะรอบเดือนยาว รูปร่างออกไปทางผู้ชาย เต้าเล็ก มีขนตามตัวมาก ต้องกินยาคุมที่มี estrogen มาก

25 ยาคุมฉุกเฉิน หมายถึง การคุมกำเนิดที่ต้องกินยาเม็ดแรกหลังการมีเพศ สัมพันธ์ไม่ควรเกิน 3 ชั่วโมงและอย่างมากผ่านมาแล้วไม่เกิน 72 ชั่วโมง และเม็ดที่สองหลังจาก 12 ชั่วโมง ใช้ในกรณีที่เกิดความผิดพลาดเท่านั้น เช่น ไม่ได้คุมกำเนิด ถุงยางแตกหรือรั่ว หรือถูกข่มขืน เป็นต้น เป็นยาที่มีโปรเจสโตเจนสูงปริมาณ 0.75 มิลลิกรัม

26 ร้านขายยาทั่วไปจะเป็นแบบฮอร์โมนเดี่ยว เช่น
ยาคุมฉุกเฉิน  แบ่งได้ 2 ประเภท 1. ฮอร์โมนผสม ประกอบด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสตินผสมกัน (Combined Pill Regimens) 2. ฮอร์โมนเดี่ยว มีฮอร์โมนโปรเจสตินเพียงอย่างเดียว (Progestin-Only Pill Regimens) ร้านขายยาทั่วไปจะเป็นแบบฮอร์โมนเดี่ยว เช่น Postinor และ Madonna

27 การออกฤทธิ์ของยาคุมฉุกเฉิน
การออกฤทธิ์ของยาคุมชนิดนี้มีลักษณะเดียวกันกับยาคุมกำ- เนิด แต่ต่างกันจะมีการทำงานหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน เช่น - ยับยั้งไข่ตก - เปลี่ยนแปลงสภาพเยื่อบุโพรงมดลูกให้ไม่เหมาะสมต่อการฝังตัวของไข่

28 ผลของการกินยาคุมฉุกเฉิน
- เปลี่ยนแปลงสภาพของมูกที่ปากมดลูก ให้เป็นด่าง และเหนียวข้นขึ้น ทำให้อสุจิผ่านเข้าไปในมดลูกได้ยาก - เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของท่อนำไข่ ทำให้ไข่ที่ผสมแล้วเดินทางเร็ว ไปถึงมดลูกเร็วเกินไปจนไม่สามารถฝังตัวได้  

29 อาการข้างเคียงของการกินยาคุมกำเนิด
1. การคลื่นไส้อาเจียน เกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจน เกิดในช่วง 2-3 เดือนแรก ให้กินทันทีหลังอาหารเย็น กรณีของยาคุมกำเนิดที่มีการอาเจียนก่อน 2 ชั่วโมง หลังกินยาคุม - ยาคุมกำเนิดเป็นแบบฮอร์โมนเท่ากันให้กินยาคุมซ้ำ อีก 1 เม็ด - ยาคุมกำเนิดแบบฮอร์โมนไม่เท่ากันต้องซื้อแผงใหม่ แล้วกินเม็ดที่อาเจียนออกไปแทน แต่ถ้าอาเจียนหลัง 2 ชั่วโมง ไม่ต้องกินยาซ้ำอีก

30 อาการข้างเคียงของการกินยาคุมกำเนิด
2. หากมีเลือดออกกระปริบกระปรอยให้การกินยาเวลาใกล้เคียงกันที่สุดของทุกวัน แต่ถ้าใช้ยาคุมชนิดที่มีเอสโตรเจนต่ำให้เปลี่ยนเป็นแบบที่มีเอสโตรเจนมากขึ้น 3. น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ให้ใช้ยาคุมที่มีปริมาณเอสโตรเจนต่ำกว่าเดิม หากน้ำหนักตัวเพิ่มมากกว่า 5 กิโลกรัม และคาดว่าน่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ให้พิจารณาเปลี่ยนวิธีการคุมกำเนิด 4. ความดันโลหิตมีภาวะที่สูงขึ้น ให้กินยาคุมที่มีปริมาณเอสโตรเจนต่ำจากเดิม และควรวัดความดันโลหิตบ่อยครั้งขึ้น

31 อาการข้างเคียงของการกินยาคุมกำเนิด
5. หน้าเป็นฝ้า ให้ใช้ยาที่มีปริมาณเอสโตรเจน 20 ไมโครกรัม พร้อมรักษาฝ้า ใช้ครีมกันแดด หลีกเลี่ยงแสงแดด ควบคู่กันไป หากยังเป็นอยู่ควรเปลี่ยนวิธีการคุมกำเนิด 6. มีอาการปวดศีรษะ หากปวดเล็กน้อยให้กินยาแก้ปวด แต่ถ้าปวดหัวข้างเดียวต้องหยุดยาคุม 7. เกิดอาการซึมเศร้า วิตกกังวล เกิดจากระดับฮอร์โมน โปรเจสโตเจนที่สูงเกินไป หากมีอาการมากควรปรึกษาแพทย์

32 อาการข้างเคียงของการกินยาคุมฉุกเฉิน
การเปลี่ยนแปลงของรอบเดือน ทำให้จำนวนเลือด ระยะเวลาการเป็นรอบเดือน และการเป็นรอบเดือนเปลี่ยนแปลงได้

33 อาการข้างเคียงที่ต้องหยุดกินยาคุมกำเนิด
1. ปวดหัวมาก และรุนแรง 2. ปวดท้องรุนแรง 3. ตาพร่า ตามัว เห็นภาพผิดปกติ 4. เจ็บหน้าอกมาก 5. ปวดน่องอย่างรุนแรง 6. อาการตาเหลือง 7. รอบเดือนขาดนาน 3 เดือนติดต่อกัน 8. ความดันโลหิตสูง 9. โรคภูมิแพ้เกิดการกำเริบมากขึ้น

34 การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการกินยาคุมกำเนิด และยาคุมฉุกเฉิน
- ทางการแพทย์นั้น จะถือว่าการตั้งครรภ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อไข่ที่ได้รับการผสม และมีการฝังตัวที่มดลูกอย่างสมบูรณ์ ใช้เวลา 2 อาทิตย์ ซึ่งตัวยาในยาคุมฉุกเฉินจะหมดประสิทธิภาพเมื่อเกิดกระบวนการดังกล่าวขึ้น หากผู้หญิงที่เป็นโรคลมชัก, โรคหัว- ใจ, โลหิตแข็งตัว หรือโรคที่เกี่ยวเนื่องกับเส้นเลือดหัวใจควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ยา อาจใช้ยาคุมฉุกเฉินชนิดฮอร์โมนเดี่ยว ซึ่งปลอดภัยกว่าชนิดฮอร์โมนผสม ในเวลากว่า 20 ปีที่ ได้มีการผลิตยาตัวนี้ขึ้นมาใช้ก็ยังไม่พบรายงานการเสียชีวิต หรืออาการแทรกซ้อนร้ายแรงที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาคุมฉุกเฉิน

35 การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการกินยาคุมกำเนิด และยาคุมฉุกเฉิน
- ปัจจุบันผู้หญิงทั่วโลกได้ใช้ยาคุมฉุกเฉินในการป้องกันการตั้งครรภ์ จากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน (unprotected sex) ทางองค์การอนามัยโลกได้รับรองว่า การกินยาคุมฉุกเฉินเป็นวิธีที่ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ยังได้บรรจุยาคุมฉุกเฉินไว้ในบัญชียาปี พ.ศ.2539

36 การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการกินยาคุมกำเนิด และยาคุมฉุกเฉิน
- สถาบันสูตินารีแพทย์ประเทศสหรัฐอเมริกา (American College of Obstetrics and Gynecology-ACOG) ได้วิจัยถึงผลกระทบข้างเคียงจากการใช้ยาคุมฉุกเฉินอย่างถูกวิธี ถ้าใช้ในกรณีฉุกเฉินจริงๆ จะไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียง - การใช้ถุงยางอนามัยจะป้องกันได้ทั้งการตั้งครรภ์ และโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ขณะที่ยาคุมกำเนิด และยาคุมฉุกเฉินลดโอกาสการตั้งครรภ์เท่านั้น ดังนั้นการใช้ถุงยางอนามัยจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่า ส่วนยาคุมกำเนิด และยาคุมฉุกเฉินควรเป็นเพียงทางออกสำรอง หรือทางเลือกสุดท้าย

37 อันตรายจากการกินยาคุมกำเนิด ร่วมกับยาชนิดอื่น
1. ยาชนิดที่กินแล้วจะทำให้ประสิทธิภาพของยาคุมกำเนิดลดลง (Drug decreases effectiveness of oral contraceptive pills) เช่น Amoxicillin, Ampicillin, Tetracycline หรือ Salicylate เป็นต้น 2. ยาชนิดที่กินร่วมกับยาคุมเนิดแล้วทำให้ยาเหล่านี้เข้มข้นขึ้น (Oral contraceptive pills potentiate effect of drug) เช่น Benzodiazepines, Caffeine หรือ Theophylline เป็นต้น

38

39

40 ข้อควรระวังการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด
ทานเวลาเดิมทุกวันห่างกันไม่เกิน 3 ชั่วโมง ใช้ถุงยางอนามัยในเดือนแรก ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อทานยาฆ่าเชื้อ ใช้ถุงยางนามัย1 สัปดาห์เมื่อลืมทานยาร่วมด้วย ไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

41 ข้อห้ามในการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด(สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล) 1
ข้อห้ามในการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด(สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล) 1. อายุ > 35 ปี และสูบบุหรี่> 20 มวน/วัน 2. โรคหลอดเลือดหัวใจหรือโรคหลอดเลือดสมอง 3. SBP ≥ 160 มม.ปรอท หรือ DBP ≥ 100 มม.ปรอท 4. เป็นโรคหลอดเลือดดำอุดตันหรือมีประวัติเป็นโรคหลอดเลือดดำอุดตัน 5. เข้ารับการผ่าตัดใหญ่ที่ต้องนอนพักฟื้นเป็นเวลานาน 6. เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูกโดยไม่ทราบสาเหตุ 7. ปวดศีรษะไมเกรนที่มี focal neurologic symptoms 8. เป็นมะเร็งเต้านมและอวัยวะสืบพันธุ์ 9. ตั้งครรภ์ เคยเป็นหรือเป็นเนื้องอกหรือมะเร็งที่ตับ

42

43 ยาฉีดคุมกำเนิด แบบ Progesterone เพียงอย่างเดียว
DMPA (depot medoxy progesterone acetate) 150 mg คุมกำเนิดได้ 3 เดือน Norethisterone enanthate 200 mg คุมกำเนิดนาน 2 เดือน แบบฮอร์โมนรวม ฉีดทุก 1 เดือน ฉีดภายใน 5 วันแรกของรอบเดือน

44 99.7% effective preventing pregnancy
ยาฉีดคุมกำเนิด 99.7% effective preventing pregnancy

45 How does the shot work?

46 ผลข้างเคียง เลือดออกกะปริบกะปรอยชิองคลอด spotting ประมาณ 3-6 เดือน
ไม่มีประจำเดือน หลังฉีดประมาณ3-6 เดือน น้ำหนักขึ้น คัดตึงเต้านม อารมณ์เปลี่ยนแปลง *NOT EVERY WOMAN HAS SIDE-EFFECTS!

47 ข้อห้ามในการใช้ยาฉีดคุมกำเนิด 1
ข้อห้ามในการใช้ยาฉีดคุมกำเนิด 1. สตรีที่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดโดยไม่ทราบสาเหตุ 2. สตรีที่ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าจะตั้งครรภ์ 3. เป็นมะเร็งเต้านมและอวัยวะสืบพันธุ์

48 แผ่นแปะคุมกำเนิด ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด estrogen และ progesterone
ตัวยาซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่กระแสเลือด วิธีใช้ แปะแผ่นวันแรกของรอบเดือน ลอกออกเพื่อแปะแผ่นใหม่ทุกสัปดาห์ ต่อเนื่องนาน 3 สัปดาห์ แล้วหยุด7วัน

49 The Patch

50

51 Norplant Implant

52 Spermicides Male Condom Female Condom Diaphragm Cervical Cap
BARRIER METHODS Spermicides Male Condom Female Condom Diaphragm Cervical Cap

53 BARRIER METHOD Prevents pregnancy blocks the egg and sperm from meeting Barrier methods have higher failure rates than hormonal methods due to design and human error

54 SPERMICIDES Chemicals kill sperm in the vagina Different forms:
-Jelly -Film -Foam -Suppository Some work instantly, others require pre-insertion Only 76% effective (used alone), should be used in combination with another method i.e., condoms

55

56

57 MALE CONDOM Perfect effectiveness rate = 97%
Typical effectiveness rate = 88% Latex and polyurethane condoms are available Combining condoms with spermicides raises effectiveness levels to 99%

58 MALE CONDOM Most common and effective barrier method when used properly Latex and Polyurethane should only be used in the prevention of pregnancy and spread of STD’s (including HIV)

59

60

61 Made as an alternative to male condoms
Polyurethane Physically inserted in the vagina Perfect rate = 95% Typical rate = 79% Woman can use female condom if partner refuses

62 Reality  : The Female Condom
The female condom is a lubricated polyurethane sheath, similar in appearance to a male condom. It is inserted into the vagina. The closed end covers the cervix. Like the male condom, it is intended for one-time use and then discarded. The sponge is inserted by the woman into the vagina and covers the cervix blocking sperm from entering the cervix. The sponge also contains a spermicide that kills sperm. It is available without a prescription.

63

64 Vaginal Ring (NuvaRing)
95-99% Effective A new ring is inserted into the vagina each month Does not require a "fitting" by a health care provider, does not require spermicide, can make periods more regular and less painful, no pill to take daily, ability to become pregnant returns quickly when use is stopped. NuvaRing is a flexible plastic (ethylene-vinyl acetate copolymer) ring that releases a low dose of a progestin and an estrogen over 3 weeks.

65

66

67 DIAPRAGHM Perfect Effectiveness Rate = 94%
Typical Effectiveness Rate = 80% Latex barrier placed inside vagina during intercourse Fitted by physician Spermicidal jelly before insertion Inserted up to 18 hours before intercourse and can be left in for a total of 24 hours

68 DIAPHRAGM The diaphragm is a flexible rubber cup that is filled with spermicide and self-inserted over the cervix prior to intercourse. The device is left in place several hours after intercourse. The diaphragm is a prescribed device fitted by a health care professional and is more expensive than other barrier methods, such as condoms

69 CERVICAL CAP Latex barrier inserted in vagina before intercourse
“Caps” around cervix with suction Fill with spermicidal jelly prior to use Can be left in body for up to a total of 48 hours Must be left in place six hours after sexual intercourse Perfect effectiveness rate = 91% Typical effectiveness rate = 80%

70 Cervical Cap The cervical cap is a flexible rubber cup-like device that is filled with spermicide and self-inserted over the cervix prior to intercourse. The device is left in place several hours after intercourse. The cap is a prescribed device fitted by a health care professional and can be more expensive than other barrier methods, such as condoms.

71 Sponge The sponge is inserted by the woman into the vagina and covers the cervix blocking sperm from entering the cervix. The sponge also contains a spermicide that kills sperm. It is available without a prescription

72 ห่วงอนามัย ( IUD)

73 ชนิดของห่วงอนามัย แบ่งได้ 4ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1
ชนิดของห่วงอนามัย แบ่งได้ 4ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1.ห่วงอนามัยชนิดหุ้มทองแดง (copper IUDs) 2.ห่วงอนามัยชนิดหลั่งสารโปรเจสตริน (progestin- releasing IUDs) 3.ห่วงอนามัยชนิดไม่เคลือบสาร (unmedicated or inert IUDs) 4.ห่วงอนามัยชนิดไม่มีโครง (frameless IUD

74 How does the IUD work? Thins uterine lining Thickens cervical mucus
Inhibit sperm Stops ovulation

75 กลไกการทำงานของห่วงอนามัย ในการคุมกำเนิด
กลไกการทำงานของห่วงอนามัย ในการคุมกำเนิด เกิดจากกลไกการอักเสบจากวัสดุแปลกปลอม กล่าวคือ การทำงานของห่วงอนามัยนั้นไม่ใช่การป้องกันการฝังตัวของตัวอ่อนเท่านั้น หากแต่เกิดจากการที่มีวัสดุแปลกปลอมในโพรงมดลูก ทำให้เกิดการกระตุ้นกระบวนการอักเสบภายในร่างกาย ซึ่งกระบวนการนี้เองเป็นพิษต่อตัวอสุจิไข่ และขัดขวางการฝังตัวของตัวอ่อน

76 - ขัดขวางการเคลื่อนตัวของอสุจิ - ในกรณีที่เป็นห่วงอนามัยชนิดหลั่งสารโปรเจสติน (progestin-releasing IUD) จะเพิ่มกลไกการหนาตัวของมูก บริเวณปากมดลูก และยังทำให้ผนังเยื่อบุโพรงมดลูกบางตัว ลงไม่พร้อมสำหรับการฝังตัวอ่อน - และยังเพิ่มการแสดง glycoderlin A ที่ต่อมบริเวณเยื่อบุ โพรงมดลูก ซึ่งยับยั้งการจับตัวของอสุจิที่ผนังของไข่อีกด้วย นอกจากนั้นฮอร์โมนโปรเจสตรินเองยังส่งผลต่อการยับยั้งการ ตกไข่ ประมาณร้อยละ 25

77 ห่วงอนามัยชนิดหุ้มทองแดงมีประสิทธิภาพได้ นาน 5-10ปี (รุ่น MultiloadCu375 อายุการใช้ งาน 5ปี, และรุ่น TCu380 อายุการใช้งาน 10ปี)

78

79 Levonorgestrel-releasing IUD (LNg 20) (Mirena®) ประกอบด้วยสาร Levonorgestrel52มิลลิกรัม ซึ่งจะหลั่งสาร Levonorgestrelในอัตรา 20ไมโครกรัมต่อวัน หลังจากใช้งานไปประมาณ 5 ปี Levonorgestrel-releasing IUD (LNg14) (Skyla®) ประกอบด้วยสารLevonorgestrel13.5มิลลิกรัม ซึ่งจะหลั่งสาร Levonorgestrel ในอัตรา 14ไมโครกัรมต่อวันหลังจากนั้นจะค่อยๆลดระดับลงไปที่ 5 ไมโครกรัมต่อวันภายใน 3ปี

80 ห่วงอนามัยชนิดไม่เคลือบสาร

81 ห่วงอนามัยชนิดไม่เคลือบสาร (unmedicated or inert IUDs) ซึ่งผลิตจากพลาสติก หรือแสตนเลส มีการฉาบสารแบเรียมซัลเฟตซึ่งสามารถตรวจพบห่วงอนามัยได้จากการเอ็กซเรย์ และโดยทั่วไปมักมีสายของห่วงอนามัยประกอบอยู่ด้วย แต่ก็มีห่วงอนามัยบางรุ่นที่ไม่มีสายของห่วงอนามัยซึ่งมักเป็นที่นิยมในประเทศจีน ซึ่งข้อดีของการใช้ห่วงอนามัยชนิดนี้คือไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนห่วงอนามัย

82 ห่วงอนามัยชนิดไม่มีโครง (frameless IUD) (Gynefix® or Fibroplant®) เป็นห่วงอนามัยที่ไม่มีโครงพลาสติกตรงกลางที่สำหรับใช้ขดลวดทองแดงพัน ซึ่งมีจำหน่ายทั่วโลก ยกเว้นประเทศสหรัฐอเมริกา

83 การเลือกใช้ห่วงอนามัย - มีความต้องการจะคุมกำเนิดด้วยวิธีที่มีประสิทธิภาพสูง - ผู้ใช้จำเป็นต้องมีความเสี่ยงต่ำในการติดต่อโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ - มีความต้องการจะคุมกำเนิดระยะยาวอย่างน้อย 1ปีขึ้นไป - มีความต้องการที่จะสามารถกลับมาตั้งครรภ์ได้หากหยุดใช้ ห่วงอนามัย - มีความจำเป็นที่จะต้องหลีกเลี่ยงวิธีการคุมกำเนิดที่มี ฮอร์โมนเอสโตรเจน

84 - มีความจำเป็นอื่นๆ ที่ต้องใช้ห่วงอนามัยในการบำบัดรักษา โดยมิได้หวังผลเพื่อการคุมกำเนิด - มีความจำเป็นเลือกใช้ห่วงอนามัยชนิดหุ้มทองแดงเพื่อการคุมกำเนิดแบบฉุกเฉิน

85 ข้อห้ามในการเลือกใช้ห่วงอนามัย - โพรงมดลูกผิดรูปอย่างรุนแรง (Severe uterine distortion  มีการติดเชื้อในอวัยวะในอุ้งเชิงกรานอยู่ (Active pelvic infection)  - ทราบหรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ เนื่องจากการใส่ห่วงอนามัยเพิ่ม โอกาสแท้ง และแท้งติดเชื้อ - Wilson's disease หรือมีภาวะแพ้ทองแดง ในกรณีเลือกใช้ ห่วงอนามัยชนิดหุ้มทองแดง เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูกที่ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด

86 - มีประวัติปวดท้องประจำเดือน หรือประจำเดือนมามากมา ก่อน ไม่ควรเลือกใช้ห่วงอนามัยชนิดหุ้มทองแดง

87 ปัญหาและผลข้างเคียงจากการใช้ห่วงอนามัย 1
ปัญหาและผลข้างเคียงจากการใช้ห่วงอนามัย 1. การเลื่อนหลุดของห่วงอนามัย (Expulsion) โอกาสในการเลื่อนหลุดสูงสุดในช่วงปีแรกหลังการใส่ ผู้ป่วยมักมีอาการ ปวดบีบท้องน้อย (cramping) ตกขาวผิดปกติ มี เลือดออกผิดปกติระหว่างรอบเดือน หรือภายหลังการมี เพศสัมพันธ์ มีอาการเจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ (dyspareunia) ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ผู้ใช้คลำได้ สายของห่วงอนามัยยาวขึ้นหรือคลำไม่ได้

88 ห่วงคุมกำเนิด

89

90 STERILIZATION Procedure performed on a man or a woman permanently sterilizes Female = Tubal Ligation Male = Vasectomy

91 TUBAL LIGATION Surgical procedure performed on a woman
Fallopian tubes are cut, tied, cauterized, prevents eggs from reaching sperm Failure rates vary by procedure, from 0.8%-3.7% May experience heavier periods Surgical sterilization which permanently prevents the transport of the egg to the uterus by means of sealing the fallopian tubes is called tubal ligation, commonly called "having one's tubes tied." This operation can be performed laparoscopically or in conjunction with a Cesarean section, after the baby is delivered. Tubal ligation is considered permanent, but surgical reversal can be performed in some cases

92 LAPAROSCOPY-’BAND-AID’ STERILIZATION

93 VASECTOMY Male sterilization procedure Ligation of Vas Deferens tube
No-scalpel technique available Faster and easier recovery than a tubal ligation Failure rate = 0.1%, more effective than female sterilization

94 During a vasectomy (“cutting the vas”) a urologist cuts and ligates (ties off) the ductus deferens. Sperm are still produced but cannot exit the body. Sperm eventually deteriorate and are phagocytized. A man is sterile, but because testosterone is still produced he retains his sex drive and secondary sex characteristics.

95

96


ดาวน์โหลด ppt แพทย์หญิงประภาภรณ์ เพชรมาก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google