งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นด้านสินเชื่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นด้านสินเชื่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นด้านสินเชื่อ
นายณโรจน์ ทองยั่งยืน ชอข.บริหารหนี้ เขตมีนบุรี

2 สิ่งที่ควรรู้เรื่องสินเชื่อ
1. ประเภทสินเชื่อ 2. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการให้สินเชื่อ 3. อำนาจอนุมัติวงเงินให้สินเชื่อ 4. อัตราดอกเบี้ย 5. ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)

3 1.ประเภทสินเชื่อ สินเชื่อของธนาคารแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 สินเชื่อลูกค้าบุคคล สินเชื่อเคหะ / สินเชื่อไทรทอง / สินเชื่อสวัสดิการ / สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก สินเชื่อธนาคารประชาชน / สินเชื่อโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน / สินเชื่อธุรกิจห้องแถว / สินเชื่อองค์กรชุมชน / สินเชื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ / สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท สำหรับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กลุ่มที่ 3 สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ และหน่วยงานรัฐ สินเชื่อธุรกิจ / สินเชื่อ อปท. สหกรณ์ / การออกหนังสือค้ำประกัน / สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ สินเชื่อหน่วยงานภาครัฐและสถาบัน

4 กลุ่มที่ 1 ลูกค้าสินเชื่อบุคคล
สินเชื่อเคหะ 1. สินเชื่อเคหะกรณีกู้เพื่อจัดหาที่อยู่อาศัย 2. สินเชื่อเคหะสำหรับผู้ประมูลซื้อทรัพย์สินจากการขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี 3. สินเชื่อกรณีไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น และกู้เพิ่มเติมเพื่อการอุปโภคบริโภค 4. สินเชื่อเคหะแก่ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 5. สินเชื่อเคหะจากการซื้อทรัพย์สินรอการขาย (NPA) ของธนาคารออมสิน 6. สินเชื่ออาคารพาณิชย์ (ห้องแถว) 7. สินเชื่อเคหะสำหรับกลุ่มวิชาชีพทางการแพทย์ 8. สินเชื่อเคหะแก่ผู้ซื้อรายย่อย (Post Finance) และสินเชื่อ Fast Track สำหรับลูกค้ารายย่อย ที่ซื้อที่อยู่อาศัยจากโครงการที่ดำเนินงานโดยผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และ โครงการที่ธนาคารให้การสนับสนุนสินเชื่อธุรกิจ (Pre Finance) 9. โครงการบ้านออมสินเพื่อประชาชน ปี 2558

5 กลุ่มที่ 1 ลูกค้าสินเชื่อบุคคล
สินเชื่อไทรทอง 1. สินเชื่อไทรทอง (อเนกประสงค์) 2. สินเชื่อไทรทอง เพื่อการศึกษา 3. สินเชื่อเคหะเพิ่มยอด (GSB PLUS) 4. สินเชื่อเพื่อการท่องเที่ยว 5. สินเชื่อไทรทองสำหรับกลุ่มวิชาชีพทางการแพทย์ 6. สินเชื่อไทรทอง GSB 3X 7. สินเชื่อเพื่อไปทำงานต่างประเทศ 8. สินเชื่อออมสินบ้านแลกเงิน

6 กลุ่มที่ 1 ลูกค้าสินเชื่อบุคคล
สินเชื่อสวัสดิการ 1. สินเชื่อสวัสดิการสำหรับหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ 2. สินเชื่อสวัสดิการสำหรับพนักงานหน่วยงานเอกชน 3. สินเชื่อสวัสดิการอเนกประสงค์สำหรับพนักงานหน่วยงานเอกชน 4. สินเชื่อเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตพนักงานรัฐวิสาหกิจ 5. สินเชื่อเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตพนักงานหน่วยงานเอกชน 6. สินเชื่อสวัสดิการสำหรับราชการบำนาญและลูกจ้างประจำ โดยใช้บำเหน็จตกทอด เป็นหลักประกัน

7 กลุ่มที่ 1 ลูกค้าสินเชื่อบุคคล
สินเชื่อสำหรับพนักงานธนาคารออมสิน 1. สินเชื่อสำหรับพนักงานธนาคารออมสิน 2. สินเชื่อเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตพนักงานธนาคารออมสิน 3. สินเชื่อเคหะพนักงานธนาคารออมสิน 4. สินเชื่อสำหรับพนักงานบำนาญธนาคารออมสิน โดยใช้บำเหน็จพิเศษเป็นหลักประกัน สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ 1. สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ 2. สินเชื่อพันธบัตรออมสิน

8 กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก
สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน 1. สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน 2. สินเชื่อสานฝันสู่อาชีพ : ผ่านการฝึกอบรมในการประกอบอาชีพ หรือมีประสบการณ์ พื้นฐาน อาชีพที่จะประกอบ หรือต้องการเปลี่ยนอาชีพ มีแนวทาง และวิธีการในการประกอบอาชีพ ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ 3. สินเชื่อคืนความสุข : เป็นลูกค้าสินเชื่อเดิมของธนาคาร ที่มีประวัติชำระหนี้ดี มาแล้ว 12 เดือน และไม่เคยปรับปรุงโครงสร้างหนี้ 4. สินเชื่อโครงการสร้างอาชีพ สร้างคนดีสู่สังคม : เพื่อผู้ต้องขังที่ได้รับการปล่อยตัว 5. สินเชื่อรายย่อยเอนกประสงค์ : เพื่ออุปโภคบริโภค หรือตามความจำเป็นเร่งด่วน 6. สินเชื่อเยียวยาลูกค้าฐานราก : ผู้ค้าที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการไม่สงบทางการเมือง

9 กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก
สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน 7. สินเชื่อห้าสินพันทันใจ : ลูกค้าโครงการ 1 สาขา 5 ตลาด 8. สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน (ช่วยภัยพิบัติ) : เพื่อแก้ไขปัญหา และ ความเดือดร้อนจากการดำรงชีพ 9. สินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการไทย : ผู้ค้าที่เป็นสมาชิกบริษัทซึ่งผลิตและจำหน่ายสินค้า เช่น บ.สยามแม็คโคร มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 10. สินเชื่อประชาชนสุขใจ : ใช้ บสย. ค้ำประกัน 11. สินเชื่อออมสุขใจ : มีการออมเงินกับธนาคารต่อเนื่อง 12. สินเชื่อรายได้ประจำสุขใจ : เป็นผู้มีรายได้ประจำ หน่วยงานมีข้อตกลงหักเงินเดือนนำส่ง

10 กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก
สินเชื่อโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน 1. สินเชื่อโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) 2. สินเชื่อโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (สินเชื่อเพิ่มยอด) 3. สินเชื่อโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) ตามโครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย ปี 2554 4. สินเชื่อโครงการช่วยเลหือลูกหนี้รายย่อยในการชำระหนี้นอกระบบ ปี 2558

11 กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก
สินเชื่อธุรกิจห้องแถว 1. สินเชื่อธุรกิจห้องแถว 2. สินเชื่อผู้ประกอบการรายใหม่ : ผ่านการฝึกอาชีพ หรือมีประสบการณ์พื้นฐานในอาชีพ และไม่เคยกู้เงินสินเชื่อธนาคารประชาชน /สินเชื่อธุรกิจห้องแถว 3. สินเชื่อผู้ประกอบการรายใหม่ (ธุรกิจแฟรนไชส์) : เป็นผู้รับสิทธิในการเข้าร่วมธุรกิจ ภายใต้ตราสินค้า ของเจ้าของแฟรนไชส์ 4. สินเชื่อกองทุนตั้งตัวได้ : ผ่านการบ่มเพาะในสถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิจัย และต้องเป็นหลักสูตร ABI (Tuthorized Business Incubator) กำหนด รวมถึงมีแผนการเงินและแผนธุรกิจที่ได้ผ่านการประเมินและกลั่นกรองจากคณะกรรมการ ABI

12 กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก
สินเชื่อองค์กรชุมชน 1. สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท - สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท - สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท สำหรับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง - สินเชื่อกลุ่มอาชีพไทยเข้มแข็ง 2. สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทกลุ่มเกษตรกร - สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทกลุ่มเกษตรกรชาวไร่ยาสูบ - สินเชื่อปลูกต้นกระดาษ 3. สินเชื่อพัฒนาองค์กรชุมชน (รายบุคคล) อเนกประสงค์

13 กลุ่มที่ 2 สินเชื่อลูกค้าฐานราก
สินเชื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ 1. สินเชื่อเพื่อพัฒนาชีวิตครู 2. สินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการทหาร 3. สินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการพลเรือนสามัญ 4. สินเชื่อโครงการคอมพิวเตอร์ชนิดพกพาเพื่อพัฒนาครูไทย 5. สินเชื่อวิทยะฐานะเพื่อแก้ไขหนี้สิน 6.โครงการเกื้อกูลผู้ประกอบวิชาชีพเพื่อการศึกษา 7.สินเชื่อโครงการพฒนาชีวติข้าราชการส่วนท้องถิ่น

14 กลุ่มที่ 3 สินเชื่อลูกค้าธุรกิจและหน่วยงานรัฐ
สินเชื่อธุรกิจ 1. สินเชื่อธุรกิจและ SMEs : ใช้ในการประกอบธุรกิจเพื่อแสวงหากำไร 2. สินเชื่อเพื่อพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน / ลงทุนในระบบการบริการสาธารณะ 3. สินเชื่อสหกรณ์ออมทรัพย์ : เป็นเงินทุน หรือเงินทุนหมุนเวียนของสหกรณ์ออมทรัพย์ 4. สินเชื่อธุรกิจและ SMEs เพื่อซื้อทรัพย์สินรอการขายของธนาคารออมสิน (NPA)

15 2.หลักเกณฑ์ และเงื่อนไข การให้สินเชื่อ
2.1 คุณสมบัติผู้กู้ 2.2 วัตถุประสงค์การกู้ 2.3 จำนวนเงินให้กู้ 2.4 ระยะเวลาชำระเงินกู้ / การชำระคืน 2.5 หลักประกัน 2.6 การจ่ายเงินกู้ 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)

16 2.1 คุณสมบัติผู้กู้ บุคคลธรรมดา / นิติบุคคล (สัญชาติไทย หรือจดทะเบียนตามกฎหมายไทย) อายุของผู้กู้ สินเชื่อลูกค้าบุคคล สินเชื่อเคหะ / ไทรทอง ต้องอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่เมื่อรวมอายุผู้กู้กับระยะเวลาที่ชำระเงินกู้แล้วต้องไม่เกิน 65 ปี **ยกเว้น** ไทรทองเพื่อการศึกษา , GSB 3X , เพื่อไปทำงานต่างประเทศ ไม่เกิน 60 ปี / เพื่อการท่องเที่ยว ไม่เกิน 70 ปี สินเชื่อสวัสดิการ ต้องอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่เมื่อรวมอายุผู้กู้กับระยะเวลาที่ชำระเงินกู้แล้วต้องไม่เกิน 60 ปี **ยกเว้น** ข้าราชการอัยการ/ตุลาการ ไม่เกิน 70 ปี / สินเชื่อสวัสดดิการข้าราชการบำนาญ โดยใช้บำเหน็จตกทอดเป็น ไม่จำกัดอายุ

17 2.1 คุณสมบัติผู้กู้ สินเชื่อสำหรับพนักงานธนาคารออมสิน ต้องอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่เมื่อรวมอายุผู้กู้กับระยะเวลาที่ชำระเงินกู้แล้วต้องไม่เกิน 65 ปี สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ ต้องบรรลุนิติภาวะแล้ว และมีความสามารถทำนิติกรรมได้ตามกฎหมาย **ยกเว้น** ผู้ฝากประเภทสลากออมสินพิเศษซึ่งเป็นผู้เยาว์และมีความประสงค์จะขอกู้เงิน โดยใช้สลากออมสินพิเศษของตนเองเป็นหลักประกัน จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทน โดยชอบธรรม

18 2.1 คุณสมบัติผู้กู้ สินเชื่อลูกค้าฐานราก สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ
สินเชื่อธนาคารประชาชน ต้องอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่เมื่อรวมอายุผู้กู้กับระยะเวลาที่ชำระเงินกู้แล้วต้องไม่เกิน 65 ปี สินเชื่อธุรกิจห้องแถว ต้องอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป สินเชื่อองค์กรชุมชน / สินเชื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ***ยกเว้น*** มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกิน 70 ปี / สินเชื่อเกื้อกูลฯ อายุ 20 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ ต้องอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป

19 2.1 คุณสมบัติผู้กู้ (ต่อ)
อาชีพ / รายได้ (เป็นผู้มีอาชีพ และรายได้แน่นอน) เช่น สินเชื่อเคหะ โครงการบ้านออมสินฯ ต้องเป็นผู้มีรายได้น้อยและปานกลาง ที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท/เดือน สินเชื่อสวัสดิการสำหรับข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ต้องเป็น ข้าราชการ หรือพนักงานราชการ สินเชื่อไทรทองสำหรับกลุ่มวิชาชีพทางการแพทย์ ต้องเป็นบุคลากรทางการแพทย์ และมีรายได้สุทธิสูงกว่า เงินงวดไม่ต่ำกว่า 3 เท่า สินเชื่อธุรกิจห้องแถว ต้องประกอบธุรกิจที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร คุณสมบัติเฉพาะอื่น ๆ เช่น สินเชื่อเคหะ กรณีไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น ต้องไม่มีประวัติผิดนัดชำระหนี้ในระยะเวลาย้อนหลัง 1 ปี สินเชื่อเคหะ แก่ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยในโครงการ “บ้านเอื้ออาทร” ต้องเป็นผู้ได้สิทธิจากการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อเคหะเพิ่มยอด (GSB PLUS) ปัจจุบันต้องเป็นลูกค้าสินเชื่อเคหะเดิมของธนาคาร สินเชื่อโครงการเกื้อกูลผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องเป็นสมาชิก ช.พ.ค. 1 ปี ขึ้นไป ณ วันที่ยื่นกู้ สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ ต้องเป็นผู้ฝากเงินประเภทใดประเภทหนึ่งของธนาคาร

20 2.2 วัตถุประสงค์การกู้ สินเชื่อลูกค้าบุคคล
สินเชื่อเคหะ เพื่อจัดหาที่อยู่อาศัย / ไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น สินเชื่อไทรทอง เพื่อการอุปโภคบริโภค / เพื่อการศึกษา / ท่องเที่ยว / ไปทำงานต่างประเทศ สินเชื่อสวัสดิการ เพื่อการอุปโภคบริโภค / เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต (ชำระหนิ้สิน) สินเชื่อลูกค้าฐานราก สินเชื่อธนาคารประชาชน / สินเชื่อธุรกิจห้องแถว เพื่อเป็นทุน หรือทุนหมุนเวียนในการดำเนินกิจการ สินเชื่อโครงการเกื้อกูลผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา เพื่อการศึกษา / เป็นค่ารักษาพยาบาล / ชำระหนี้สิน / อื่น ๆ ตามความต้องการของผู้กู้ สินเชื่อพัฒนาชีวิตครู เพื่อนำไปชำระหนี้สิน สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินกิจการ / เพื่อลงทุนในทรัพย์สินถาวร / เพื่อไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น ยกเว้น การซื้อขายที่ดินที่มีลักษณะเก็งกำไร

21 2.3 จำนวนเงินให้กู้ สินเชื่อลูกค้าบุคคล สินเชื่อเคหะ - ลูกค้าทั่วไป
- ลูกค้า Post Finance แบ่งตามกลุ่มผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

22 2.3 จำนวนเงินให้กู้ สินเชื่อเคหะ (ต่อ)
สินเชื่อเคหะ (ต่อ) สินเชื่อเคหะ โครงการบ้านออมสินเพื่อประชาชนฯ ไม่เกินรายละ 3 ล้านบาท

23 2.3 จำนวนเงินให้กู้ สินเชื่อเคหะ (ต่อ)
สินเชื่อเคหะ (ต่อ) โครงการบ้านออมสินเพื่อประชาชนฯ >>>ไม่เกิน 3 ล้านบาท กรณีปลูกสร้างหรือซ่อมแซมอาคาร >>> ไม่เกิน 100% ของราคาประเมินของอาคารที่ปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซม แต่ต้องไม่เกิน - ทำ MRTA ไม่เกิน 100% ของราคาประเมินที่ดินพร้อมอาคาร - ไม่ทำ MRTA ไม่เกิน 90% ของราคาประเมินที่ดินพร้อมอาคาร กรณีไถ่ถอนจำนองและขอกู้เพิ่มเติม - ราคาซื้อขายต่ำกว่า 10 ล้าน >>>> ที่ดินพร้อมอาคารไม่เกิน 90% - ห้องชุด 85% ของราคาประเมิน - ราคาซื้อขายตั้งแต่ 10 ล้านขึ้นไป >>>> ไม่เกิน 80% ของราคาประเมิน - กู้เพิ่มเติม >>> ไม่เกิน 5 ล้านบาท และไม่เกิน 30% ของราคาประเมิน - ค่าเบี้ย MRTA >>> ไม่เกิน 5% ของราคาประเมิน **กรณีไถ่ถอนจำนอง** หากยอดหนี้คงเหลือจากสถาบันการเงินเดิมสูงกว่าราคาประเมินให้กู้ เท่ากับยอดหนี้คงเหลือ

24 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
สินเชื่อเคหะ (ต่อ) สินเชื่อเคหะ (ซื้อทรัพย์สินรอการขาย (NPA) ของธนาคารออมสิน) ไม่เกินรายละ 10 ล้านบาท ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาขายกรณีที่ดินพร้อมอาคาร หรือ ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาขายกรณีห้องชุด หรือ ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาขายกรณีซื้อที่ดินว่างเปล่า ทั้งนี้ สามารถให้กู้เพื่อต่อเติมซ่อมแซมได้อีก ไม่เกินร้อยละ 10 ของราคาขาย สินเชื่อเคหะ แก่ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยในโครงการ “บ้านเอื้ออาทร” ไม่เกินร้อยละ 100 ของราคาขาย หักด้วยส่วนลดและจำนวนเงินดาวน์ที่ผู้กู้จ่ายให้กับการเคหะแห่งชาติ (กคช.)

25 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อไทรทอง (อเนกประสงค์) กรณีหลักทรัพย์ค้ำประกัน >>> ไม่เกิน 5 ล้านบาท ไม่เกิน 90% ของราคาประเมินที่ดินพร้อมอาคาร หรือ ไม่เกิน 85% ของราคาประเมินห้องชุด หรือ ไม่เกิน 80% ของราคาประเมินที่ดิน กรณีบุคคลค้ำประกัน >>> ไม่เกิน 300,000 บาท สินเชื่อออมสินบ้านแลกเงิน เงินกู้ระยะยาว (LT) >>> ไม่เกิน 10 ล้านบาท >>> ที่ดินพร้อมอาคารไม่เกิน 90% - ห้องชุด 85% เงินกู้แบบผสม (LT+OD) >>> รวมกันไม่เกิน 10 ล้านบาท >>> ไม่เกิน 80% ของราคาประเมิน โดยวงเงินกู้เบิกเกินบัญชี (OD) ไม่เกิน 1 ล้านบาท และไม่เกิน 50% ของราคาประเมิน สินเชื่อเคหะเพิ่มยอด (GSB PLUS) ไม่เกินจำนวนเงินกู้ที่ลดลงจากวงเงินกู้เดิม และไม่เกิน 10 ล้านบาท กรณีกู้เกินวงเงินกู้เดิมได้ ไม่เกิน 95% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ใหม่ แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดินพร้อมอาคาร หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีห้องชุด หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดิน ไม่เกินรายละ 150,000 บาท กรณีบุคคลค้ำประกัน สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ กรณีเงินกู้ระยะยาว ไม่เกิน 20 ล้านบาท กรณีเงินกู้เบิกเกินบัญชี ไม่เกิน 10 ล้านบาท ไม่เกินร้อยละ 95 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของมูลค่าสลากออมสินพิเศษ โดยไม่ต้องพิจารณาถึงมูลค่าสลากเมื่อถอนคืนก่อนครบกำหนด สินเชื่อส่วนบุคคล (Non-Bank) เมื่อรวมกับวงเงินของโครงการรีไฟแนนซ์บัตรเครดิตแล้วสามารถให้กู้ได้ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ปัจจุบัน และต้องไม่เกิน 300,000 บาท ทั้งนี้ต้องไม่เกินภาระหนี้คงเหลือ และความสามารถในการชำระหนี้

26 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อสวัสดิการ (สำหรับข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ) กรณีผู้กู้สังกัดหน่วยงานทั่วไป ไม่เกินรายละ 3 ล้านบาท ทั้งกรณีบุคคลและหลักทรัพย์ค้ำประกัน กรณีผู้กู้สังกัดหน่วยที่ทำข้อตกลงกับธนาคาร (ส่วนกลาง) ไม่เกินรายละ 3 ล้านบาท กรณีบุคคลค้ำประกัน ไม่เกินรายละ 5 ล้านบาท กรณีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกินร้อยละ 100 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดบัญชีเงินฝาก หรือ มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมินที่ดินพร้อมอาคาร หรือ ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินที่ดิน หรือ ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมินห้องชุด มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดินพร้อมอาคาร หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีห้องชุด หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดิน ไม่เกินรายละ 150,000 บาท กรณีบุคคลค้ำประกัน สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ กรณีเงินกู้ระยะยาว ไม่เกิน 20 ล้านบาท กรณีเงินกู้เบิกเกินบัญชี ไม่เกิน 10 ล้านบาท ไม่เกินร้อยละ 95 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของมูลค่าสลากออมสินพิเศษ โดยไม่ต้องพิจารณาถึงมูลค่าสลากเมื่อถอนคืนก่อนครบกำหนด สินเชื่อส่วนบุคคล (Non-Bank) เมื่อรวมกับวงเงินของโครงการรีไฟแนนซ์บัตรเครดิตแล้วสามารถให้กู้ได้ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ปัจจุบัน และต้องไม่เกิน 300,000 บาท ทั้งนี้ต้องไม่เกินภาระหนี้คงเหลือ และความสามารถในการชำระหนี้

27 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อสวัสดิการ (ส่งเสริมคุณภาพชีวิตพนักงานรัฐวิสาหกิจ) ไม่เกินรายละ 1.5 ล้านบาท กรณีบุคคลค้ำประกัน ไม่เกินรายละ 5 ล้านบาท กรณีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกินร้อยละ 100 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดบัญชีเงินฝาก หรือ มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมินที่ดินพร้อมอาคาร หรือ ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินที่ดิน หรือ ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมินห้องชุด สินเชื่อสวัสดิการ (สำหรับพนักงานหน่วยงานเอกชน) กรณีบุคคลค้ำประกัน ผู้กู้สังกัดหน่วยงานทั่วไป ไม่เกินรายละ 1 ล้านบาท กรณีผู้กู้สังกัดหน่วยที่ทำข้อตกลงกับธนาคาร (ส่วนกลาง) ไม่เกินรายละ 1.5 ล้าน กรณีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกินรายละ 2 ล้านบาท มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดินพร้อมอาคาร หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีห้องชุด หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดิน ไม่เกินรายละ 150,000 บาท กรณีบุคคลค้ำประกัน สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ กรณีเงินกู้ระยะยาว ไม่เกิน 20 ล้านบาท กรณีเงินกู้เบิกเกินบัญชี ไม่เกิน 10 ล้านบาท ไม่เกินร้อยละ 95 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของมูลค่าสลากออมสินพิเศษ โดยไม่ต้องพิจารณาถึงมูลค่าสลากเมื่อถอนคืนก่อนครบกำหนด สินเชื่อส่วนบุคคล (Non-Bank) เมื่อรวมกับวงเงินของโครงการรีไฟแนนซ์บัตรเครดิตแล้วสามารถให้กู้ได้ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ปัจจุบัน และต้องไม่เกิน 300,000 บาท ทั้งนี้ต้องไม่เกินภาระหนี้คงเหลือ และความสามารถในการชำระหนี้

28 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อสวัสดิการ (สำหรับพนักงานธนาคารออมสิน) ไม่เกินรายละ 3 ล้านบาท กรณีบุคคลค้ำประกัน ไม่เกินรายละ 5 ล้านบาท กรณีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกินร้อยละ 100 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดบัญชีเงินฝาก หรือ มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมินที่ดินพร้อมอาคาร หรือ ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมินห้องชุด หรือ ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินที่ดิน สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ ไม่เกินรายละ 20 ล้านบาท กรณีเงินกู้ระยะยาว ไม่เกินรายละ 10 ล้านบาท กรณีเงินกู้เบิกเงินเกินบัญชี ไม่เกินร้อยละ 95 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดบัญชีเงินฝาก หรือ มูลค่าสลากออมสิน มูลค่าสลากออมสิน ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดินพร้อมอาคาร หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีห้องชุด หรือไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดิน ไม่เกินรายละ 150,000 บาท กรณีบุคคลค้ำประกัน กรณีเงินกู้ระยะยาว ไม่เกิน 20 ล้านบาท กรณีเงินกู้เบิกเกินบัญชี ไม่เกิน 10 ล้านบาท ไม่เกินร้อยละ 95 ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของมูลค่าสลากออมสินพิเศษ โดยไม่ต้องพิจารณาถึงมูลค่าสลากเมื่อถอนคืนก่อนครบกำหนด สินเชื่อส่วนบุคคล (Non-Bank) เมื่อรวมกับวงเงินของโครงการรีไฟแนนซ์บัตรเครดิตแล้วสามารถให้กู้ได้ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ปัจจุบัน และต้องไม่เกิน 300,000 บาท ทั้งนี้ต้องไม่เกินภาระหนี้คงเหลือ และความสามารถในการชำระหนี้

29 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อลูกค้าฐานราก ธนาคารประชาชน >>> ไม่เกิน 200,000 บาท >>> ที่ดินพร้อม สปส. 80% - ห้องชุด/ที่ดินเปล่า 70% - ที่นา ที่สวน ที่ไร่ 60% สานฝันสู่อาชีพ >>> ไม่เกิน 50,000 บาท คืนความสุข >>> 15,000 – 40,000 บาท โครงการสร้างอาชีพ สร้างคนดีสู่สังคม >>> 50,000 บาท รายย่อยอเนกประสงค์ >>> 5,000 บาท เยียวยาลูกค้าฐานราก >>> 200,000 บาท ห้าสิบพันทันใจ >>> 50,000 บาท ช่วยภัยพิบัติ >>> 30,000 บาท เพื่อผู้ประกอบการไทย >>> 200,000 บาท แต่ไม่เกิน 2 เท่าของยอดรายการซื้อสินค้าเฉลี่ย ประชาชนสุขใจ >>> 10,000 – 200,000 บาท ออมสุขใจ >>> 200,000 บาท แต่ไม่เกิน 5 เท่าของเงินออม ณ วันที่ยื่นกู้ รายได้ประจำสุขใจ >>> 200,000 บาท

30 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อลูกค้าฐานราก สินเชื่อธุรกิจห้องแถว >>> เกิน 200,000 – 1,000,000 บาท 95% ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน หรือ มูลค่าสลากออมสิน หรือ มูลค่าพันธบัตรรัฐบาล หรือ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หลักทรัพย์ค้ำประกัน >>> ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง 80% - ที่ดินว่างเปล่า (ที่มีโฉนดที่ดิน) / ที่ดินที่เป็นที่สวน ที่ไร่ ที่นา / ห้องชุด 70% ของราคาประเมิน บุคคลค้ำประกัน >>> ไม่เกิน 500,000 บาท. สินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการรายใหม่ >>> ไม่เกิน 200,000 บาท หลักทรัพย์ค้ำประกัน >>> ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง 80% - ที่ดินว่างเปล่า/ห้องชุด 70% - ที่ดินที่เป็นที่สวน ที่ไร่ ที่นา 60% ของราคาประเมิน บุคคลค้ำประกัน

31 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อลูกค้าฐานราก สินเชื่อผู้ประกอบการรายใหม่ (ธุรกิจแฟรนไชส์) >>> ไม่เกิน 70% ของสัญญาแฟรนไชส์ และไม่เกิน 20 เท่าของค่าธรรมเนียมแฟรนไชส์รายปี กองทุนตั้งตัวได้ >>> ไม่เกิน 2 ล้านบาท 95% ของมูลค่าพันธบัตรรัฐบาล หรือ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หลักทรัพย์ค้ำประกัน >>> ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง 80% - ที่ดินว่างเปล่า (ที่มีโฉนดที่ดิน) / ห้องชุด 70% ของราคาประเมิน

32 2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ)
2.3 จำนวนเงินให้กู้ (ต่อ) สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจ >>> เกิน 1 ล้านบาทขึ้นไป โดยพิจารณาตามความจำเป็น และความสามารถในการชำระหนี้ของกิจการ 95 % ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน หรือ มูลค่าสลากออมสิน (ตามเงื่อนไขสินเชื่อชีวิตสุขสันต์) หรือ มูลค่าพันธบัตรรัฐบาล หรือ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หลักทรัพย์ค้ำประกัน >>> ที่ดินพร้อมอาคาร 80% - ที่ดินเปล่า (โฉนด/นส.3ก.) / ห้องชุด 70% ของราคาประเมินหลักทรัพย์

33 2.4 ระยะเวลาชำระเงินกู้ / การชำระคืน
สินเชื่อลูกค้าบุคคล เช่น สินเชื่อเคหะ กรณีจัดหาที่อยู่อาศัย / ไถ่ถอนจำนอง ไม่เกิน 30 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 65 ปี กรณีกู้เพิ่มเติมเพื่ออุปโภคบริโภค ไม่เกิน 15 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 60 ปี ยกเว้น สินเชื่อเคหะแก่ผู้ซื้อรายย่อย (Post Finance) สำหรับโครงการที่ดำเนินงานโดยบริษัทมหาชน หรือโครงการที่ธนาคารให้การสนับสนุนสินเชื่อธุรกิจ (Pre Finance) ไม่เกิน 30 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 65 ปี ทั้งกรณีให้กู้จัดหาที่อยู่อาศัยและกู้เพิ่มเติมเพื่ออุปโภคบริโภค

34 2.4 ระยะเวลาชำระเงินกู้ / การชำระคืน (ต่อ)
สินเชื่อไทรทอง อเนกประสงค์ >>> เงินกู้ไม่เกิน 300,000 บาท ไม่เกิน 7 ปี และ เงินกู้เกิน 300,000 บาท ไม่เกิน 20 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 65 ปี บ้านแลกเงิน >>> ไม่เกิน 15 ปี เคหะเพิ่มยอด (GSB PLUS) ไม่เกิน 15 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 65 ปี กลุ่มวิชาชีพทางการแพทย์ บุคคลค้ำประกัน ไม่เกิน 10 ปี หรือ หลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกิน 20 ปี สินเชื่อสวัสดิการ สวัสดิการสำหรับข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ มีและไม่มีบุคคค้ำประกัน ไม่เกิน 15 ปี (กรณีผู้กู้เป็นพนักงานราชการ ต้องไม่เกินอายุสัญญาจ้างงาน) หรือ หลักทรัพย์ค้ำประกัน ไม่เกิน 20 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 60 ปี สวัสดิการพนักงานหน่วยงานเอกชน กู้ไม่เกิน 700,000 บาท ไม่เกิน 10 ปี และ กู้เกิน 700,000 บาท ไม่เกิน 20 ปี และเมื่อรวมอายุผู้กู้กับเวลาที่ชำระเงินกู้ต้องไม่เกิน 65 ปี สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ >>> ไม่เกิน 10 ปี

35 2.4 ระยะเวลาชำระเงินกู้ / การชำระคืน (ต่อ)
สินเชื่อลูกค้าฐานราก โครงการธนาคารประชาชน ธนาคารประชาชน >>> 8 ปี สานฝันสู่อาชีพ >>> 5 ปี (ปลอดเงินต้น/ดอกเบี้ย 3 เดือน) คืนความสุข >>> 5 ปี โครงการสร้างอาชีพ สร้างคนดีสู่สังคม >>> 5 ปี (ปลอดเงินต้น/ดอกเบี้ย 3 เดือน) รายย่อยอเนกประสงค์ >>> 1 ปี 6 เดือน (18 งวด) เยียวยาลูกค้าฐานราก >>> 8 ปี ห้าสิบพันทันใจ >>> 3 ปี ช่วยภัยพิบัติ >>> 2 ปี เพื่อผู้ประกอบการไทย >>> วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท – 3 ปี / วงเงินเกิน 50,000 บาท – 5 ปี ประชาชนสุขใจ >>> 3 – 10 ปี ออมสุขใจ >>> 8 ปี รายได้ประจำสุขใจ >>> 8 ปี สินเชื่อธุรกิจห้องแถว >>> 10 ปี สินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการรายใหม่ >>> 5 ปี สินเชื่อผู้ประกอบการรายใหม่ (ธุรกิจแฟรนไชส์) >>> 3 ปี สินเชื่อกองทุนตั้งตัวได้ >>> 7 ปี

36 2.4 ระยะเวลาชำระเงินกู้ / การชำระคืน (ต่อ)
สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจ และSMEs เงินกู้ระยะสั้น (เช่น เงินกู้เบิกเกินบัญชี / ตั๋วสัญญาใช้เงิน) ไม่เกิน 1 ปี ทบทวนวงเงินทุกปี เงินกู้ระยะยาว ไม่เกิน 10 ปี โดยจะให้ปลอดชำระหนี้เงินต้นไม่เกิน 2 ปี ในกรณีที่มีระยะเวลาชำระเงินกู้ตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป

37 2.5 หลักประกัน (ตามวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ / ประเภทสินเชื่อ)
ไม่มีการค้ำประกัน เช่น สินเชื่อไทรทองสำหรับกลุ่มวิชาชีพทางการแพทย์ วงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาท สำหรับ แพทย์ / ทันตแพทย์ / สัตวแพทย์ สินเชื่อสวัสดิการสำหรับข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ วงเงินไม่เกิน 700,000.-บาท สำหรับ ตำแหน่ง ตั้งแต่ ร้อยเอก/เรือเอก/เรืออากาศเอก/ร้อยตำรวจเอก/ข้าราชการพลเรือนระดับชำนาญงาน , วิชาการชำนาญการ หรือเทียบเท่าขึ้นไป วงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท สำหรับ ตำแหน่ง ตั้งแต่ พันโท/นาวาโท/นาวาอากาศโท/พันตำรวจโท/ข้าราชการพลเรือนระดับอาวุโส , ชำนาญการพิเศษ หรือเทียบเท่าขึ้นไป สินเชื่อสวัสดิการสำหรับพนักงานธนาคารออมสิน ตำแหน่งผู้บริหารระดับต้น หรือเทียบเท่าขึ้นไป สินเชื่อคืนความสุข

38 2.5 หลักประกัน(ตามวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ / ประเภทสินเชื่อ) (ต่อ)
2.5 หลักประกัน(ตามวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ / ประเภทสินเชื่อ) (ต่อ) บุคคลค้ำประกัน อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ สัญชาติไทย เป็นผู้มีอาชีพและรายได้แน่นอน สมุดเงินฝากออมสิน / สลากออมสิน เป็นของผู้กู้ และ/หรือบุคคลอื่น (เป็นของสาขาที่ให้กู้เงิน) ไม่เป็นสลากออมสินชนิดระบุผู้ถือ ยกเว้น มีการโอนเปลี่ยนชนิดสลากแล้ว ไม่เป็นสลากออมสินของผู้เยาว์ ยกเว้น สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ กรณีผู้เยาว์ที่ได้รับความยินยอมจากผู้แทนขอกู้เอง ใช้สลากทั้งฉบับหรือหลายฉบับรวมกัน แต่ต้องมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่า 5,000 บาท/ครั้ง ไม่เป็นสมุดฝากเงินของผู้เยาว์ หรือ สมุดฝากเงินที่ฝากเพื่อประโยชน์ของผู้เยาว์ พันธบัตรรัฐบาล / พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ เป็นของผู้กู้ และ/หรือบุคคลอื่น มอบให้ธนาคารยึดถือ พร้อมทั้งโอนสิทธิการถอนให้ธนาคาร

39 2.5 หลักประกัน (ตามวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ / ประเภทสินเชื่อ) (ต่อ)
2.5 หลักประกัน (ตามวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ / ประเภทสินเชื่อ) (ต่อ) ที่ดิน / ที่ดินพร้อมอาคาร / ห้องชุด เป็นของผู้กู้ และ/หรือบุคคลอื่น ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนที่มีความเจริญ มีไฟฟ้า สาธารณูปโภคอื่น ๆ ตามความจำเป็น มีทางสาธารณะประโยชน์ ซึ่งรถยนต์สามารถผ่านเข้า-ออกได้สะดวก สิทธิการเช่าที่ดิน และ/หรืออาคาร ตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารประกาศกำหนดสิทธิ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) หลักประกันอื่น ๆ เช่น สินเชื่อเคหะแก่ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยในโครงการ “บ้านเอื้ออาทร” การเคหะแห่งชาติ (กคช.) เป็นผู้ค้ำประกันตามสัญญาค้ำประกันเป็นระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้ภาระค้ำประกันจะสิ้นสุดลงเมื่อผู้กู้มาดำเนินการจดจำนองกับธนาคาร

40 2.6 การจ่ายเงินกู้ จ่ายงวดเดียวในวันทำนิติกรรมสัญญา
จ่ายเงินตามผลการก่อสร้าง สินเชื่อเคหะ เพื่อปลูกสร้างหรือต่อเติมซ่อมแซมอาคาร ผู้กู้ต้องรับเงินกู้ให้เสร็จสิ้นตามสัญญาภายใน 6 เดือน หากเกินกำหนดให้ระงับการจ่ายเงินกู้ที่เหลือ เว้นแต่ผู้กู้จะขอขยายระยะเวลาออกไปอีก จ่ายงวดแรก >>> กรณีซื้อที่ดินเพื่อปลูกสร้าง ไม่เกิน 80% ของราคาประเมินที่ดิน งวดอื่น ๆ จ่ายตามราคาประเมินผลการปลูกสร้างหรือต่อเติมซ่อมแซมอาคารที่กำหนดในสัญญาแต่ละงวด สินเชื่อธุรกิจ จ่ายตามเงื่อนไขอนุมัติที่กำหนดไว้ในสัญญา

41 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
การให้กู้เงินระยะสั้นตามตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note : P/N) วัตถุประสงค์ **ให้กู้ตามวัตถุประสงค์และมีเอกสารประกอบแน่นอน** เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในธุรกิจ อายุของตั๋วสัญญาใช้เงิน แต่ละฉบับไม่เกิน 90 วัน และไม่เกินวันครบอายุของสัญญากู้เงินระยะสั้นตามตั๋วสัญญาใช้เงิน การจ่ายเงินกู้ ผู้กู้ต้องออกตั๋วสัญญาใช้เงินตามแบบที่ธนาคารกำหนด ตามจำนวนเงินที่ขอเบิก ทั้งนี้ จำนวนเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินแต่ละฉบับหรือหลายฉบับ (ที่ยังไม่ได้ชำระหนี้เสร็จสิ้น) ทั้งหมดรวมกันในขณะใดขณะหนึ่ง ต้องไม่เกินวงเงินให้กู้ตามสัญญากู้เงินระยะสั้นตามตั๋วสัญญาใช้เงิน เงื่อนไขการชำระหนี้ การรับชำระคืนเงินต้นตามจำนวนเงิน และภายในวันที่ ที่กำหนดไว้ในตั๋วสัญญาใช้เงินแต่ละฉบับ (ไม่รับคืนเงินต้นบางส่วน การชำระดอกเบี้ยเป็นงวดรายเดือน โดยชำระทุกสิ้นเดือน ยกเว้นกรณีที่ตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับใดถึงกำหนดชำระในเดือนั้น ให้ชำระดอกเบี้ยของตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับนั้นพร้อมการชำระคืนเงินต้น โดยชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันสดุดท้ายของเดือนที่เบิกเงินกู้

42 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
การออกหนังสือค้ำประกัน (LG) **หนังสือที่ธนาคารออก เพื่อการค้ำประกันให้กับลูกค้า** วัตถุประสงค์ เพื่อค้ำประกันให้ลูกค้าของธนาคาร ต่อส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐ และเอกชน ซึ่งมีวัตถุประสงค์ไม่ขัดต่อกฎหมาย ตามประเภทหนังสือค้ำประกันที่ธนาคารเปิดให้บริการ ประเภทของหนังสือค้ำประกัน การค้ำประกันการยื่นซองประกวดราคา หรือการยื่นประมูลราคา (Bid Bond / Tender Guarantee) การค้ำประกันการปฏิบัติตามสัญญา หรือหนังสือค้ำประกันผลงาน (Performance Bond) การค้ำประกันการชำระเงินล่วงหน้า (Advance Payment Guarantee / Security) การค้ำประกันการเบิกเงินประกันผลงาน (Retention Guarantee) การค้ำประกันประเภทอื่น ๆ ตามที่ผู้อำนวยการกำหนด

43 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
คุณสมบัติของลูกค้า บุคคลธรรมดา / นิติบุคคล (สัญชาติไทย หรือจดทะเบียนตามกฎหมายไทย) ระยะเวลาการค้ำประกัน ไม่มีกำหนดระยะเวลา เฉพาะการค้ำประกันต่อส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การของรัฐ มีกำหนดระยะเวลา ให้เป็ฯไปตามความประสงค์ของลูกค้า แต่ไม่เกินระยะเวลาที่ลูกค้าต้องผูกพันกับผู้รับหนังสือค้ำประกัน

44 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
การให้สินเชื่อแฟคตอริ่ง (สินเชื่อเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้น ไม่มีกำหนดอายุสิ้นสุดสัญญา) ความหมายของสินเชื่อ : **เปลี่ยนลูกหนี้การค้าเป็นทุน** สินเชื่อเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้น ที่สนับสนุนธุรกิจทุกประเภทที่มีการค้าแบบมีกำหนดระยะเวลาชำระเงิน (Credit Term) โดยการรับซื้อ (โอนสิทธิเรียกร้องการรับเงิน) หนี้การค้า ธนาคารจะให้เงินทุนหมุนเวียนทั้งก่อนส่งมอบสินค้า/บริการ (Pre Financing) หรือหลังส่งมอบสินค้า/บริการ และวางบิลเรียบร้อยแล้ว (Post Financing) รอการเก็บเงินพร้อมให้บริการในการจัดเก็บหนี้การค้า และให้ถือเป็นสินเชื่อธุรกิจประเภทหนึ่ง) วัตถุประสงค์ เพื่อแก้ไขปัญญาเงินทุนหมุนเวียนให้แก่ผู้ประกอบการที่มีข้อจำกัดทางด้านหลักทรัพย์ค้ำประกัน เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่มีเงินทุนหมุนเวียนจมอยู่ในลูกหนี้การค้า โดยการเปลี่ยนลูกหนี้การค้าเป็นเงินสดเพื่อเพิ่มสภาพคล่องและเพิ่มศักยภาพในการขยายตัวของกิจการ

45 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
คุณสมบัติลูกค้า บุคคลที่จดทะเบียนการค้า หรือ นิติบุคคลที่ทำการผลิต/จำหน่ายสินค้าและบริการ หรือรับจ้าง ที่มีการค้าแบบมีกำหนดระยะเวลาชำระเงิน (Credit Term) กับลูกหนี้การค้า มีการทำธุรกิจมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือถ้ามีการทำธุรกิจน้อยกว่า 6 เดือน ต้องมีผู้บริหารที่มีประสบการณ์ในประเภทธุรกิจเดียวกับที่ขอวงเงินสินเชื่อมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน กรณีขอวงเงิน Pre Financing ต้องมีเอกสารแสดงฐานะการเงินว่าสามารถดำเนินธุรกิจและมีเงินทุนดำเนินกิจการอย่างเพียงพอ กรณีเป็นหนี้ด้อยคุณภาพ (NPLs) และธุรกิจยังดำเนินการอยู่ให้รับพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ต้องยินยอมโอนสิทธิเรียกร้องการรับเงินจากลูกหนี้การค้าให้ธนาคาร คุณสมบัติลูกหนี้การค้า เป็นหน่วยงานราชการ หรือ เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรือ นิติบุคคลที่มีฐานะการเงินมั่นคง และ/หรือมีผลประกอบการของการดำเนินธุรกิจเป็นที่น่าเชื่อถือ และ/หรือมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ยอมรับ และหรือรับทราบการแจ้งโอนสิทธิตรงหรือการแจ้งโอนสิทธิทางไปรษณีย์ และ/หรือมอบอำนาจการรับเงินให้ธนาคาร

46 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
จำนวนเงินให้กู้ วงเงินอนุมัติต่อรายตั้งแต่ 500,000.-บาทขึ้นไป หลักประกันเงินกู้ บุคคลค้ำประกันโดยกรรมการผู้มีอำนาจ หรือผู้ถือหุ้นเกินกว่า 50% นิติบุคคลค้ำประกัน เงินประกัน 10 – 40 % ของวงเงินที่อนุมัติ โดยทยอยหักจากการโอนสิทธิแต่ละครั้ง หรือทั้งจำนวน หนังสือค้ำประกันของธนาคารค้ำประกัน หลักทรัพย์อื่นตามหลักเกณฑ์ของธนาคารค้ำประกัน กรณีไม่มีหลักประกันตามข้างต้น ให้รับพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป

47 2.7 เงื่อนไขพิเศษอื่น / สินเชื่ออื่น ๆ (ที่เกี่ยวข้อง)
เงินเบิกล่วงหน้า กรณีให้สินเชื่อก่อนส่งมอบสินค้า/บริการ (Pre Financing) ไม่เกินร้อยละ ของงวดงาน/สัญญา/ใบสั่งซื้อ กรณีให้สินเชื่อหลังส่งมอบสินค้า/บริการ (Post Financing) ไม่เกินร้อยละ 90 ของมูลหนี้ที่นำมาโอนสิทธิ การเบิกเงินลูกค้าต้องออกตั๋วสัญญาใช้เงิน พร้อมเอกสารการค้าประกอบให้ธนาคาร การจัดเก็บดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียมบริการเป็นแบบส่วนลดรับล่วงหน้า (Discount) ต้องโอนสิทธิ และ/หรือมอบสิทธิ และ/หรือมอบอำนาจการรับเงินจากลูกหนี้การค้าให้ธนาคาร ระยะเวลารับซื้อหนี้การค้า ไม่เกิน 180 วัน ขั้นต่ำ 10 วัน กรณีไม่ถึง 10 วันให้ถือเป็น 10 วัน

48 3. อำนาจอนุมัติวงเงินให้สินเชื่อ
คณะกรรมการสินเชื่อสาขา สินเชื่อลูกค้าบุคคล สินเชื่อไทรทอง / สวัสดิการ >>> กรณีมี/ไม่มีบุคคลค้ำประกัน ไม่เกิน 1 ล้านบาท สินเชื่อเคหะ / ไทรทอง / สวัสดิการ >>> กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ ไม่เกิน 3 ล้านบาท สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ >>> ไม่เกิน 10 ล้านบาท สินเชื่อลูกค้าฐานราก (ทุกประเภทสินเชื่อ) กรณีมี/ไม่มีบุคคลค้ำประกัน >>> ไม่เกิน 1 ล้านบาท ยกเว้น สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทสำหรับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง >>> ไม่เกิน 3 ล้านบาท กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ >>> ไม่เกิน 3 ล้านบาท สินเชื่อลูกค้าธุรกิจและหน่วยงานรัฐ สินเชื่อธุรกิจ >>> กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน ไม่เกิน 3 ล้านบาท หนังสือค้ำประกัน (LG) >>> กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ ไม่เกิน 3 ล้านบาท

49 3. อำนาจอนุมัติวงเงินให้สินเชื่อ (ต่อ)
3. อำนาจอนุมัติวงเงินให้สินเชื่อ (ต่อ) คณะกรรมการสินเชื่อเขต / สำนัก สินเชื่อลูกค้าบุคคล สินเชื่อไทรทอง / สวัสดิการ >>> กรณีมี/ไม่มีบุคคลค้ำประกัน >>> ไม่เกิน 2 ล้านบาท สินเชื่อเคหะ / ไทรทอง / สวัสดิการ >>> กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ >>> ไม่เกิน 20 ล้านบาท สินเชื่อชีวิตสุขสันต์ >>> ไม่เกิน 20 ล้านบาท สินเชื่อลูกค้าฐานราก (ทุกประเภทสินเชื่อ) กรณีมี/ไม่มีบุคคลค้ำประกัน >>> ไม่เกิน 2 ล้านบาท ยกเว้น สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทสำหรับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง >>> ไม่เกิน 5 ล้านบาท กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ >>> ไม่เกิน 5 ล้านบาท สินเชื่อลูกค้าธุรกิจและหน่วยงานรัฐ สินเชื่อธุรกิจ >>> กรณีมี/ไม่มีบุคคลค้ำประกัน / เงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ >> ไม่เกิน 10 ล้านบาท หนังสือค้ำประกัน (LG) >>> กรณีเงินฝาก / สลากออมสิน / อสังหาริมทรัพย์ ไม่เกิน 10 ล้านบาท

50 4. อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ (ข้อมูล ณ วันที่ 27 พ.ค. 58) ดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำประเภทเงินกู้ที่มีระยะเวลา (MLR : MINIMUM LENDING RATE) อัตราร้อยละ 6.70 ต่อปี ดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำประเภทเงินเบิกเกินบัญชี (MOR : MINIMUM OVERDRAFT RATE) อัตราร้อยละ 7.10 ต่อปี ดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้ารายย่อยชั้นดี (MRR : MINIMUM RETAIL RATE) อัตราร้อยละ ต่อปี

51 4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อเคหะ (แบบพิเศษ)
4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อเคหะ (แบบพิเศษ) แบบที่ 1 ปีที่ 1 ร้อยละ 1.25 ต่อปี / ปีที่ 2 ร้อยละ MRR-2.00 ต่อปี / ปีที่ 3 เป็นต้นไป MRR ต่อปี แบบที่ 2 ปีที่ ร้อยละ 4.50 ต่อปี / ปีที่ 4 เป็นต้นไป MRR-0.75 ต่อปี แบบที่ 3 กรณีผู้กู้ประสงค์ทำประกันชีวิตเพื่อประกันสินเชื่อ (MRTA) เกิน 70% ของวงเงินกู้ ปรับลดจากอัตราดอกเบี้ยเฉพาะปีแรก แบบที่ 1 ร้อยละ 0.25 ต่อปี และ แบบที่ 2 ร้อยละ 0.50 ต่อปี สินเชื่อบ้านออมสินเพื่อประชาชน ปี 2558 >>> ปีที่ 1 ร้อยละ 3.50 ต่อปี / ปีที่ 2 ร้อยละ 4.25 ต่อปี / ปีที่ 3 เป็นต้นไป MRR ต่อปี สินเชื่อเคหะเพื่อซื้อทรัพย์สินรอการขาย (NPA) ของธนาคาร เฉพาะปีที่อิงอัตราดอกเบี้ย MRR ตั้งแต่ปีที่ 4 เป็นต้นไป MRR-1.25 ต่อปี การซื้อที่ดินเพื่อเตรียมปลูกสร้างอาคาร วงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท ร้อยละ MRR+1.00 ต่อปี / วงเงินเกิน 3 ล้านบาท ร้อยละ MRR+2.0 ต่อปี

52 4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อสวัสดิการ / ไทรทอง

53 4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อสวัสดิการ / ไทรทอง (ต่อ)

54 4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อธนาคารประชาชน / สินเชื่อแก้ไขหนี้สินภาคประชาชน กรณีใช้อัตราดอกเบี้ยคงที่ : Flat Rate วงเงินกู้ไม่เกิน 30,000.-บาท >>> ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน วงเงินกู้เกิน 30,000.-บาท >>> ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน **ยกเว้น - ลูกค้ามีหน่วยงานหักเงินเดือนนำส่ง >>> ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน ทุกวงเงิน - สินเชื่อคืนความสุข >>> ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน - สินเชื่อประชาชนสุขใจ / ออมสุขใจ >>> ร้อยละ 1.00 ต่อเดือน - สินเชื่อรายได้ประจำสุขใจ >> กรณีธนาคารจ่ายค่าตอบแทนหน่วยงาน ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน >> กรณีธนาคารไม่จ่ายค่าตอบแทนหน่วยงาน ร้อยละ 0.70 ต่อเดือน

55 4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) กรณีใช้อัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก
4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) กรณีใช้อัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก สินเชื่อห้าสิบพันทันใจ >>> MRR+2.00 ต่อปี สินเชื่อช่วยภัยพิบัติ >>> MRR ต่อปี สินเชื่อโครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินฯ ปี 2554 >>> MRR+3.00 ต่อปี อัตราดอกเบี้ยผิดนัด (กรณีสัญญายังไม่ครบกำหนด) ให้คิดเพิ่มจากอัตราดอกเบี้ยปกติอีก ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน ของเงินต้นที่ถึงกำหนดชำระ อัตราดอกเบี้ยผิดนัด (กรณีสัญญาครบกำหนด) ให้คิดเพิ่มจากอัตราดอกเบี้ยปกติอีก ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน (แบบลดต้นลดดอก) ของเงินต้นคงเหลือ **ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยสูงสุดไม่เกินร้อยละ 25 ต่อปี กรณีอัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก >>> ร้อยละ ต่อปี

56 4. อัตราดอกเบี้ย (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อธุรกิจห้องแถว

57 5. ค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อเคหะ และบุคคล
การให้บริการสินเชื่อ วงเงินกู้ไม่เกิน 500,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท วงเงินกู้ไม่เกิน 500,001 – 2,000,000 บาท ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท วงเงินกู้ไม่เกิน 2,000,001 – 5,000,000 บาท ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท วงเงินกู้ไม่เกิน 5,000,001 บาทขึ้นไป ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้ การให้บริการจัดทำนิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท การไถ่ถอนจำนอง ปลอดจำนอง หรือจำนองเพิ่มหลักทรัพย์ เฉพาะกรณีพนักงานต้องไปกับลูกค้าที่สำนักงานที่ดิน ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท กรณีผู้กู้ชำระคืนเงินกู้ หรือไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนด (Pre-payment) สำหรับลูกค้าสินเชื่อเคหะทั่วไป / สินเชื่อเคหะเดิมที่ดี (ยกเว้นสินเชื่อเคหะเพิ่มยอด ภายในระยะเวลา 3 ปี นับแต่วันทำสัญญากู้ หรือวันที่ทำบันทึกต่อท้ายสัญญากู้ ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 3 ของจำนวนเงินกู้ตามสัญญา สินเชื่อออมสินบ้านแลกเงิน ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้

58 5. ค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อชีวิตสุขสันต์
การให้บริการสินเชื่อ วงเงินกู้ไม่เกิน 100,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท/สัญญา วงเงินกู้ไม่เกิน 100,001 – 500,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท/สัญญา วงเงินกู้ไม่เกิน 500,001 – 5,000,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท/สัญญา วงเงินกู้ไม่เกิน 5,000,001 – 10,000,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท/สัญญา วงเงินกู้ไม่เกิน 10,000,001 บาทขึ้นไป ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท/สัญญา สินเชื่อพันธบัตรออมสิน ค่าธรรมเนียม 300 บาท

59 5. ค่าธรรมเนียม (ต่อ) ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
5. ค่าธรรมเนียม (ต่อ) ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจ การให้บริการสินเชื่อ (ค่าธรรมเนียมจัดการเงินกู้ หรือค่าธรรมเนียมวิเคราะห์โครงการ) ทุกประเภทวงเงิน ค่าธรรมเนียมร้อยละ 0.50 ของวงเงินกู้ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000.-บาท ยกเว้น การต่อตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือทบทวนวงเงิน หรือการต่อสัญญาวงเงินกู้ระยะสั้น ไม่เก็บค่าธรรมเนียม การให้บริการจัดทำนิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท กรณีผู้กู้ไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดอายุตามสัญญา (ตลอดอายุสัญญากู้เงิน) เฉพาะประเภทวงเงินกู้ระยะยาว กรณีไถ่ถอนจำนองไปใช้บริการที่สถาบันการเงินอื่นเท่านั้น ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 2 ของจำนวนเงินกู้คงเหลือ ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อแฟคตอริ่ง ค่าวิเคราะห์โครงการ ร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 2,500.-บาท แต่เมื่อรวมทุกครั้งแล้วต้องไม่เกินรายละ 100,000.-บาท ค่าธรรมเนียมนิติกรรม รายละ 1,000.-บาท และทุกครั้งเมื่อมีการเพิ่มวงเงิน ค่าธรรมเนียมบริการ ร้อยละ 0.1 – 1.0 ของมูลหนี้ที่นำมาโอนสิทธิ หรือคิดเป็นจำนวนเงินแบบเหมาจ่ายตามระยะทาง และไม่ต่ำกว่า 1,000.-บาท

60 5. ค่าธรรมเนียม (ต่อ) สินเชื่อธนาคารประชาชน การให้บริการสินเชื่อ
5. ค่าธรรมเนียม (ต่อ) สินเชื่อธนาคารประชาชน การให้บริการสินเชื่อ วงเงินกู้ไม่เกิน 50,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท วงเงินกู้ไม่เกิน 50,001 – 100,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท วงเงินกู้ไม่เกิน 100,001 – 200,000 บาท ค่าธรรมเนียม บาท **ทั้งนี้ ยกเว้นให้ ลูกค้าที่ทำประกันอุบัติเหตุผ่านบัตรเดบิตของธนาคาร ไม่เก็บค่าธรรมเนียม สินเชื่อที่อยู่ในความดูแลของฝ่ายพัฒนาสังคมและชุมชน ฝ่ายสินเชื่อเพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ฝ่ายสินเชื่อประชาชน ฝ่ายสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และภาครัฐ และสินเชื่อทุกประเภทที่พนักงานธนาคารออมสินเป็นผู้ขอกู้ ยกเว้น สินเชื่อธนาคารประชาชน ให้ยกเว้น ค่าธรรมเนียมการให้บริการสินเชื่อ

61 5. ค่าธรรมเนียม (ต่อ) ค่าธรรมเนียมการประเมินราคาหลักทรัพย์ กรณีธนาคารเป็นผู้ดำเนินการ สินเชื่อเคหะ / บุคคล วงเงินกู้ไม่เกิน 1,000,000 บาท ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท วงเงินกู้ไม่เกิน 1,000,001 – 3,000,000 บาท ค่าธรรมเนียม 2,800 บาท วงเงินกู้เกิน 3,000,000 บาทขึ้นไป ค่าธรรมเนียม 3,700 บาท สินเชื่อธุรกิจ ค่าธรรมเนียม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้ ทั้งนี้ต้องไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท ค่าตรวจสอบสภาพที่ดิน และ/หรืออาคาร เฉพาะกรณีที่บริษัทประเมินเป็นผู้ประเมินราคาหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียมครั้งละ บาท ค่าตรวจสอบผลการปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซมอาคาร ค่าธรรมเนียมครั้งละ บาท

62 5. ค่าธรรมเนียม (ต่อ) ค่าธรรมเนียมการประเมินราคาหลักทรัพย์ กรณีบริษัทประเมินเป็นผู้ดำเนินการ สินเชื่อเคหะ / สินเชื่อบุคคล วงเงินขอกู้ไม่เกิน 1,000,000.-บาท ค่าธรรมเนียม รายละ 2,000.-บาท วงเงินขอกู้เกิน 1,000, ,000,000.-บาท ค่าธรรมเนียม รายละ 2,800.-บาท วงเงินขอกู้เกิน 3,000,000.-บาท ค่าธรรมเนียม รายละ 3,700.-บาท สินเชื่อธุรกิจ ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้ แต่ไม่ต่ำกว่า 2,000.-บาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ค่าตรวจสอบผลการปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซมอาคาร ค่าธรรมเนียมครั้งละ 800.-บาท กรณีการขอกู้รายเดียว แต่หลักประกันมีมากกว่า 1 แห่ง ถ้าอยู่ในเขตอำเภอเดียวกัน ค่าประเมินราคาจะเพิ่มขึ้นจากอัตราดังกล่าวอีกร้อยละ 50 และถ้าอยู่ต่างเขตหรือต่างอำเภอ ค่าประเมินราคาจะเพิ่มขึ้นอีกแห่งละร้อยละ 100 ค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าที่พัก ซึ่งบริษัทประเมินจะเรียกเก็บเพิ่ม กรณีหลักทรัพย์ตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ หรือตั้งอยู่คนละจังหวัดกับที่ตั้งสำนักงานของบริษัทประเมินให้สอบถามค่าบริการจากบริษัทประเมินโดยตรง

63 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
หนี้ค้างชำระ (NPLs) การจัดชั้นลูกหนี้ 1. ลูกหนี้ชั้นปกติ : ลูกหนี้ที่ไม่ผิดนัด หรือค้างชำระต้นเงินหรือดอกเบี้ยไม่เกิน 1 เดือน 2. ลูกหนี้ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ : ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงินหรือดอกเบี้ยเป็นระยะเวลารวมกัน เกินกว่า 1 เดือน แต่ไม่เกิน 3 เดือน นับแต่วันที่ถึงกำหนดชำระ 3. ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน : ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงินหรือดอกเบี้ยเป็นระยะเวลารวมกัน เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ถึงกำหนดชำระ 4. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย : ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงินหรือดอกเบี้ยเป็นระยะเวลารวมกัน เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน นับแต่วันที่ถึงกำหนดชำระ 5. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ : ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงินหรือดอกเบี้ยเป็นระยะเวลารวมกัน เกินกว่า 12 เดือน นับแต่วันที่ถึงกำหนดชำระ 6. ลูกหนี้จัดชั้นสูญ : ลูกหนี้ที่ธนาคารได้ใช้สิทธิเรียกร้องโดยสมควรเพื่อให้ได้รับชำระหนี้แต่ไม่มีทางที่จะได้รับชำระหนี้แล้ว

64 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
อัตราการตั้งเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ชั้นหนี้ อัตราการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1. ปกติ (ค้างชำระ 0 – 1 เดือน) % 2. กล่าวถึงเป็นพิเศษ (ค้างเกิน 1 – 3 เดือน) % 3. ต่ำกว่ามาตรฐาน (ค้างเกิน เดือน) % 4. สงสัย (ค้างเกิน 6 – 12 เดือน) % 5. ชั้นสงสัยจะสูญ (ค้างเกิน 12 เดือนขึ้นไป) %

65 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
การติดตามหนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบในการติดตามหนี้ - หนี้ค้างชำระไม่เกิน 3 เดือน >>> สาขา / หน่วยงานที่ถือบัญชีลูกหนี้ - หนี้ค้างชำระเกิน 3 เดือน (NPLs) >>> เขต/สำนัก ฝ่ายพัฒนาหนี้ หรือหน่วยงานมี่ธนาคารกำหนด

66 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
ข้อปฏิบัติ ในการติดตามทวงถามหนี้

67 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
ข้อปฏิบัติ ในการติดตามทวงถามหนี้ (ต่อ)

68 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
ข้อปฏิบัติ ในการติดตามทวงถามหนี้ (ต่อ)

69 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น)
ข้อปฏิบัติ ในการติดตามทวงถามหนี้ (ต่อ)

70 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ)
6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ) อำนาจอนุมัติปรับปรุงโครงสร้างหนี้ คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ สาขา วงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาท (สำหรับการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ลูกหนี้ค้างชำระ เดือน) คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ เขต / สำนัก วงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ภาค วงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ สายงานบริหารหนี้และกฎหมาย ***วงเงิน หมายถึง ยอดเงินกู้คงเหลือรวมทุกสัญญา***

71 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ)
6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ) วิธีแก้ไขหนี้ กรณีลูกหนี้ค้างชำระทั่วไป ขยายระยะเวลาชำระหนี้ การลดจำนวนเงินดอกเบี้ยค้างชำระ ชำระดอกเบี้ยปกติ ชำระดอกเบี้ยปกติบางส่วน ปรับหนี้ระยะสั้นเป็นระยะยาว ชำระหนี้ปิดบัญชี กรณีทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล กรณีผ่อนผันหลังคำพิพากษา ผ่อนผันชำระหนี้ แปลงหนี้ วิธีที่ 1 – 5 สามารถกำหนดเงินงวด ผ่อนชำระเป็นแบบขั้นบันได (Step up)

72 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ)
6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ) อำนาจอนุมัติคณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญ คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ เขต/สำนัก วงเงินไม่เกิน 30,000 บาท คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ภาค วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ส่วนกลาง วงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท ***วงเงิน หมายถึง ยอดเงินต้นคงเหลือ หรือยอดหนี้คงค้าง ทุกบัญชีรวมกันของลูกหนี้แต่ละราย***

73 6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ)
6. การแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (เบื้องต้น) (ต่อ) วิธีปฏิบัติการจำหน่ายหนี้สูญ ต้องเป็นลูกหนี้หยุดรับรู้รายได้ และมีการติดตามอย่างถึงที่สุด

74 แบบทดสอบ

75 Ex. การให้สินเชื่อธนาคารประชาชน ข้อใด กล่าวผิด
นายแดง อาชีพ พนักงานบริษัท กู้เงิน 30,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน นายขาว อาชีพ พนักงานบริษัท (หน่วยงานข้อตกลง) กู้เงิน 30,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน นายดำ อาชีพ พนักงานบริษัท กู้เงิน 100,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน นางฟ้า อาชีพ พนักงานบริษัท (หน่วยงานข้อตกลง) กู้เงิน 100,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน

76 Ex. หลักประกันการกู้เงิน สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน ข้อใด กล่าวผิด
สินเชื่อคืนความสุข ไม่ต้องใช้หลักประกัน สินเชื่อประชาชนสุขใจ ไม่ต้องใช้หลักประกัน สินเชื่อรายได้ประจำสุขใจ ไม่ต้องใช้หลักประกัน สินเชื่อออมสุขใจ ใช้บัญชีเงินฝากเผื่อเรียกเป็นหลักประกัน

77 Ex. นายเหลือง เปิดร้านขายของชำ ต้องการกู้เงินสินเชื่อเพื่อธุรกิจห้องแถว เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในกิจการ จึงมาขอกู้กับธนาคารออมสิน โดยนำที่ดินเปล่า มาเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน ซึ่งธนาคารประเมินราคาหลักประกันเป็นเงิน 2,000,000 บาท 1. นายเหลือง จะกู้เงินได้สูงสุดเท่าไหร่ 1,600,000 บาท 1,400,000 บาท 1,000,000 บาท 500,000 บาท

78 Ex. บุคคลในข้อใดกู้เงินสินเชื่อชีวิตสุขสันต์ ไม่ได้
นายกวง ขอกู้เงิน 5,000 บาท ใช้สลากออมสินของตนเอง จำนวน 5 ฉบับ มูลค่า 5,500 บาท มาเป็นหลักประกัน นายดิษ ขอกู้เงิน 10,000 บาท ใช้สลากออมสินของ น.ส.เอ็ม มูลค่า 12,000 บาท มาเป็นหลักประกัน นายลิ่ว ขอกู้เงิน 4,000 บาท ใช้สลากออมสินของ น.ส.เอ็ม มูลค่า 4,500 บาท มาเป็นหลักประกัน นายนุ๊ก ขอกู้เงิน 4,000 บาท ใช้สลากออมสินของ น.ส.เอ็ม มูลค่า 5,000 บาท มาเป็นหลักประกัน

79 Ex. สินเชื่อธุรกิจ กรณีนำที่ดินพร้อมอาคาร มาเป็นหลักประกัน จะกู้ได้เท่าไหร่
ไม่เกินร้อยละ 70 ของราคาประเมิน ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน

80 Ex. นายอ๋อย มาขอซื้อห้องชุด ทรัพย์สินรอการขายของธนาคารออมสิน (NPA) ในราคา 1,000,000 บาท ข้อใด กล่าวถูก กู้ได้สูงสุดไม่เกิน 1,100,000 บาท กู้ได้สูงสุดไม่เกิน 1,000,000 บาท กู้ได้สูงสุดไม่เกิน 900,000 บาท ไม่มีข้อใดถูก เนื่องจากไม่มีข้อมูลราคาประเมิน

81 Ex. ข้อใดกล่าวถึงการจัดชั้นหนี้และการกันสำรองได้ถูกต้องที่สุด
ชั้นปกติ : ค้างชำระเกิน เดือน : กันสำรอง 1% ชั้นปกติ : ค้างชำระ เดือน : กันสำรอง 2% ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ : ค้างชำระเกิน เดือน : กันสำรอง 2% ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ : ค้างชำระเกิน เดือน : กันสำรอง 100%

82 Ex. พนักงานในข้อใด กระทำการทวงถามหนี้ ไม่ถูกต้อง
นายลือชา แจ้งลูกหนี้ว่าหากไม่ชำระหนี้ ลูกหนี้จะถูกดำเนินคดี และจะถูกยึดทรัพย์ นายจุนศักดิ์ โทรติดตามทวงหนี้ลูกหนี้ ในวันจันทร์ เวลา น. น.ส.รัชนี แจ้งลูกหนี้ว่าตนเองเป็นพนักงานธนาคารออมสิน ก่อนทวงถามหนี้ นายจักรพงษ์ แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับหนี้บางส่วนของลูกหนี้ กับคู่สมรสลูกหนี้ ที่มาสอบถามข้อมูล

83 Ex. อำนาจอนุมัติจำหน่ายหนี้สูญฯ คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญ ข้อใด กล่าวถูก
คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญสาขา ไม่เกิน 15,000 บาท คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญสาขา ไม่เกิน 30,000 บาท คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญเขต ไม่เกิน 30,000 บาท คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญเขต ไม่เกิน 50,000 บาท

84 เฉลยแบบทดสอบ

85 Ex. การให้สินเชื่อธนาคารประชาชน ข้อใด กล่าวผิด
นายแดง อาชีพ พนักงานบริษัท กู้เงิน 30,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน นายขาว อาชีพ พนักงานบริษัท (หน่วยงานข้อตกลง) กู้เงิน 30,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน นายดำ อาชีพ พนักงานบริษัท กู้เงิน 100,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน นางฟ้า อาชีพ พนักงานบริษัท (หน่วยงานข้อตกลง) กู้เงิน 100,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อธนาคารประชาชน ใช้อัตราดอกเบี้ยคงที่ : Flat Rate วงเงินกู้ไม่เกิน 30,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน วงเงินกู้เกินกว่า 30,000.-บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน ยกเว้น ลูกค้ามีหน่วยงานหักเงินเดือนนำส่ง อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน ทุกวงเงิน

86 Ex. หลักประกันการกู้เงิน สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน ข้อใด กล่าวผิด
สินเชื่อคืนความสุข ไม่ต้องใช้หลักประกัน สินเชื่อประชาชนสุขใจ ไม่ต้องใช้หลักประกัน สินเชื่อรายได้ประจำสุขใจ ไม่ต้องใช้หลักประกัน สินเชื่อออมสุขใจ ใช้บัญชีเงินฝากเผื่อเรียกเป็นหลักประกัน หลักประกันสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน สินเชื่อคืนความสุข >>> เป็นลูกค้าสินเชื่อประเภทหนึ่งประเภทใดของธนาคารออมสิน ที่มีประวัติชำระหนี้ดีมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และไม่เคยปรับปรุงโครงสร้างหนี้ >>> ไม่ต้องใช้หลักประกันเงินก็ สินเชื่อประชาชนสุขใจ >>> ให้ใช้บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสหกรรมขนาดย่อม (บสย.) เป็นหลักประกัน สินเชื่อรายได้ประจำสุขใจ >>> มีหน่วยงานเป็นผู้ประสานงานควบคุม ดูแล การหักเงินเดือนนำส่ง >>> ไม่ต้องใช้หลักประกันเงินกู้ สินเชื่ออมสุขใจ >>> มีการออมเงินสม่ำเสมอ กู้ได้ไม่เกิน 5 เท่าของเงินออม ณ วันที่ยื่นกู้ >>> ใช้บัญชีเงินฝากเผื่อกเรียกที่มีประวัติการออมต่อเนื่องกับสาขาที่ยื่นกู้เป็นหลักประกัน

87 Ex. นายเหลือง เปิดร้านขายของชำ ต้องการกู้เงินสินเชื่อเพื่อธุรกิจห้องแถว เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในกิจการ จึงมาขอกู้กับธนาคารออมสิน โดยนำที่ดินเปล่า มาเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน ซึ่งธนาคารประเมินราคาหลักประกันเป็นเงิน 2,000,000 บาท เงื่อนไข สินเชื่อเพื่อธุรกิจห้องแถว ตามความจำเป็นและความสามารถในการชำระคืน กู้ได้เกิน 200,000 บาทขึ้นไป แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท ไม่เกินร้อยละ 70 ของราคาประเมินหลักทรัพย์กรณีที่ดินว่างเปล่า (ที่มีโฉนดที่ดิน) / ที่ดินที่เป็นที่สวน , ที่ไร่ , ที่นา / ห้องชุด 1. นายเหลือง จะกู้เงินได้สูงสุดเท่าไหร่ 1,600,000 บาท 1,400,000 บาท 1,000,000 บาท 500,000 บาท ร้อยละ 70 ของราคาประเมินที่ดิน = 1,400,000 บาท สินเชื่อห้องแถวกู้ได้เกิน 200,000 บาทขึ้นไป แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท

88 Ex. บุคคลในข้อใดกู้เงินสินเชื่อชีวิตสุขสันต์ ไม่ได้
นายกวง ขอกู้เงิน 5,000 บาท ใช้สลากออมสินของตนเอง จำนวน 5 ฉบับ มูลค่า 5,500 บาท มาเป็นหลักประกัน นายดิษ ขอกู้เงิน 10,000 บาท ใช้สลากออมสินของ น.ส.เอ็ม มูลค่า 12,000 บาท มาเป็นหลักประกัน นายลิ่ว ขอกู้เงิน 4,000 บาท ใช้สลากออมสินของ น.ส.เอ็ม มูลค่า 4,500 บาท มาเป็นหลักประกัน นายนุ๊ก ขอกู้เงิน 4,000 บาท ใช้สลากออมสินของ น.ส.เอ็ม มูลค่า 5,000 บาท มาเป็นหลักประกัน ใช้สลากทั้งฉบับหรือหลายฉบับรวมกัน แต่ต้องมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่า 5,000 บาท/ครั้ง

89 Ex. สินเชื่อธุรกิจ กรณีนำที่ดินพร้อมอาคาร มาเป็นหลักประกัน จะกู้ได้เท่าไหร่
ไม่เกินร้อยละ 70 ของราคาประเมิน ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน สินเชื่อลูกค้าธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจ >>> เกิน 1 ล้านบาทขึ้นไป โดยพิจารณาตามความจำเป็น และความสามารถในการชำระหนี้ของกิจการ 95 % ของจำนวนเงินฝากคงเหลือในสมุดเงินฝากธนาคารออมสิน หรือ มูลค่าสลากออมสิน (ตามเงื่อนไขสินเชื่อชีวิตสุขสันต์) หรือ มูลค่าพันธบัตรรัฐบาล หรือ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หลักทรัพย์ค้ำประกัน >>> ที่ดินพร้อมอาคาร 80% - ที่ดินเปล่า (โฉนด/นส.3ก.) / ห้องชุด 70% ของราคาประเมินหลักทรัพย์

90 Ex. นายอ๋อย มาขอซื้อห้องชุด ทรัพย์สินรอการขายของธนาคารออมสิน (NPA) ในราคา 1,000,000 บาท ข้อใด กล่าวถูก กู้ได้สูงสุดไม่เกิน 1,100,000 บาท กู้ได้สูงสุดไม่เกิน 1,000,000 บาท กู้ได้สูงสุดไม่เกิน 900,000 บาท ไม่มีข้อใดถูก เนื่องจากไม่มีข้อมูลราคาประเมิน เงื่อนไข กรณีกู้เพื่อซื้อ NPA ของธนาคารออมสิน ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาขาย กรณีที่ดินพร้อมอาคาร ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาขาย กรณีห้องชุด ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาขาย กรณีที่ดินว่างเปล่า กรณีที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด สามารถกู้เพื่อต่อเติมซ่อมแซมได้อีกไม่เกินร้อยละ 10 ของราคาขาย

91 Ex. ข้อใดกล่าวถึงการจัดชั้นหนี้และการกันสำรองได้ถูกต้องที่สุด
ชั้นปกติ : ค้างชำระเกิน เดือน : กันสำรอง 1% ชั้นปกติ : ค้างชำระ เดือน : กันสำรอง 2% ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ : ค้างชำระเกิน เดือน : กันสำรอง 2% ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ : ค้างชำระเกิน เดือน : กันสำรอง 100% อัตราการตั้งเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ชั้นหนี้ อัตราการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1. ปกติ (ค้างชำระ 0 – 1 เดือน) % 2. กล่าวถึงเป็นพิเศษ (ค้างเกิน 1 – 3 เดือน) % 3. ต่ำกว่ามาตรฐาน (ค้างเกิน เดือน) % 4. สงสัย (ค้างเกิน 6 – 12 เดือน) % 5. ชั้นสงสัยจะสูญ (ค้างเกิน 12 เดือนขึ้นไป) %

92 Ex. พนักงานในข้อใด กระทำการทวงถามหนี้ ไม่ถูกต้อง
นายลือชา แจ้งลูกหนี้ว่าหากไม่ชำระหนี้ ลูกหนี้จะถูกดำเนินคดี และจะถูกยึดทรัพย์ นายจุนศักดิ์ โทรติดตามทวงหนี้ลูกหนี้ ในวันจันทร์ เวลา น. น.ส.รัชนี แจ้งลูกหนี้ว่าตนเองเป็นพนักงานธนาคารออมสิน ก่อนทวงถามหนี้ นายจักรพงษ์ แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับหนี้บางส่วนของลูกหนี้ กับคู่สมรสลูกหนี้ ที่มาสอบถามข้อมูล

93 Ex. อำนาจอนุมัติจำหน่ายหนี้สูญฯ คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญ ข้อใด กล่าวถูก
คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญสาขา ไม่เกิน 15,000 บาท คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญสาขา ไม่เกิน 30,000 บาท คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญเขต ไม่เกิน 30,000 บาท คณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญเขต ไม่เกิน 50,000 บาท อำนาจอนุมัติคณะกรรมการจำหน่ายหนี้สูญ คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ เขต/สำนัก วงเงินไม่เกิน 30,000 บาท คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ภาค วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ส่วนกลาง วงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท ***วงเงิน หมายถึง ยอดเงินต้นคงเหลือ หรือยอดหนี้คงค้าง ทุกบัญชีรวมกันของลูกหนี้แต่ละราย***

94 โครงการพัฒนาระบบงานสนับสนุนกระบวนการสินเชื่อ
Loan Origination and Process System : LOPs 94

95 Role การทำงาน > ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้บันทึกข้อมูล ( Maker) สาขา
BRO – Branch Relationship Officer (พนง.สินเชื่อสาขา) หน้าที่คือ : ทดสอบเบื้องต้นว่าลูกค้าสามารถกู้ได้หรือไม่ตามเงื่อนไขสินเชื่อแต่ละประเภท : บันทึกข้อมูลผู้กู้ ผู้ค้ำประกันและหลักประกันเข้าระบบ : พิจารณาข้อมูลทางการเงินของลูกค้า แจ้งผลการอนุมัติ/ปฏิเสธให้ลูกค้าทราบ RMADM – Relationship Management Admin หน้าที่คือ : บันทึกความเห็นของกรรมการ ในเรื่องวงเงินที่อนุมัติ อัตราดอกเบี้ยและ ระยะเวลากู้ (กรณีใช้การอนุมัตินอกระบบ) CAOI – Center Account Officer for Insursnce (พนง.สินเชื่อสาขา) หน้าที่คือ : บันทึกค่าเบี้ยประกันที่เรียกเก็บกรณีบริษัทประกันภัยลดค่าเบี้ยประกันให้ : ยืนยันการรับชำระค่าเบี้ยประกันภัย พร้อม Scan หลักฐานเข้าระบบ 95

96 Role การทำงาน > ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้บันทึกข้อมูล ( Maker) สาขา
CAOC – Center Account Officer for Contract หน้าที่คือ : จัดทำสัญญา ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขข้อมูลในสัญญา BROC – Branch Relationship Office for Contract หน้าที่คือ : พิมพ์สัญญาสินเชื่อ หรือ Scan สัญญาที่ดำเนินการครบถ้วน : ยืนยันการรับชำระค่าธรรมเนียม และ Scan หลักฐานเข้าระบบ CAOM – Center Account Officer for Mortgage หน้าที่คือ : พิมพ์สัญญาจำนอง หรือ Scanสัญญาจำนอง 96

97 Role การทำงาน > ผู้อนุมัติ/ผู้ตรวจสอบ/ผู้มอบหมายงาน (Checker) สาขา
SBRO – Senior Branch Relationship officer (ชจส.สินเชื่อ) หน้าที่คือ : ตรวจสอบใบคำขอสินเชื่อที่ BRO บันทึก ทั้งหมด พร้อมให้ความเห็น : แก้ไขข้อมูลลูกค้า/ข้อมูลสินเชื่อ หรือข้อมูลหลักประกัน (ข้อมูลบางส่วน) : ตรวจสอบความถูกต้องของสัญญาที่ Scan / แก้ไขไฟล์ Scan BCOM 1-3 – Branch Committee (กรรมการสาขา) หน้าที่คือ : พิจารณาสินเชื่อ : ให้ความเห็นอนุมัติ/ปฏิเสธคำขอสินเชื่อ BMGR – Branch Manager (ผจส.) หน้าที่คือ : พิจารณาชี้ขาดกรณีมติไม่เป็นเอกฉันท์ : กำหนดวงเงินอนุมัติ/อัตราดอกเบี้ย และระยะเวลากู้ : รับทราบผลการพิจารณาใบคำขอสินเชื่อ 97

98 Role การทำงาน > ผู้อนุมัติ/ผู้ตรวจสอบ/ผู้มอบหมายงาน (Checker) สาขา
CMGR – Center Manager หน้าที่คือ : ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขข้อมูลในสัญญา : แก้ไขข้อมูลของสัญญา เช่น วันที่นัดลงนาม วันที่จดจำนอง : ติดตามการชำระค่าธรรมเนียม เบี้ยประกัน MMGR – Mortgage Manager หน้าที่คือ : เลือกเจ้าหน้าที่ CAOM เพื่อมอบหมายให้ดำเนินการจดจำนอง : ตรวจสอบสัญญาจำนองที่ Scan : แก้ไขไฟล์ scan 98

99 Role การทำงาน > ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้บันทึกข้อมูล ( Maker) เขต
RCM – Retail Credit Management หน้าที่คือ : ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลใบคำขอ พร้อมทั้งให้ความเห็น : กำหนดวงเงินที่อนุมัติ อัตราดอกเบี้ย และระยะเวลา CMADM – Credit Management Admin หน้าที่คือ : บันทึกความคิดเห็นของคณะกรรมการ (กรณีอนุมัตินอกระบบ) : พิมพ์และ Scan แบบฟอร์ม CA CAOC – Center Account Officer for Contract หน้าที่คือ : จัดทำสัญญา/แก้ไขข้อมูลในสัญญา 99

100 Role การทำงาน > ผู้อนุมัติ/ผู้ตรวจสอบ/ผู้มอบหมายงาน (Checker) เขต
CAOM – Center Account Officer for Mortgage หน้าที่คือ : พิมพ์สัญญาจำนอง และ Scan สัญญาจำนอง SRCM – Senior Retail Credit Management หน้าที่คือ : ตรวจสอบข้อมูลและวิเคราะห์ : กำหนดวงเงินที่อนุมัติ อัตราดอกเบี้ย และระยะเวลา : ให้ความเห็น และเลือกกรรมการการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ 100

101 Role การทำงาน > ผู้อนุมัติ/ผู้ตรวจสอบ/ผู้มอบหมายงาน (Checker) เขต
CMMGR – Credit Management manager หน้าที่คือ : มอบหมายงานให้ RCM ภายในเขตของตน : รับทราบผลการพิจารณาใบคำขอสินเชื่อ RCOM – Retail Committee : พิจารณาและให้ความเห็นอนุมัติ/ปฏิเสธ คำขอสินเชื่อหรือส่งงานให้ คณะกรรมการลำดับถัดไป CMGR – Center manager หน้าที่คือ : ตรวจสอบความถุกต้องและแก้ไขข้อมูลในสัญญา 101

102 Role การทำงาน > ผู้อนุมัติ/ผู้ตรวจสอบ/ผู้มอบหมายงาน (Checker) เขต
RCOM – Retail Committee : พิจารณาและให้ความเห็นอนุมัติ/ปฏิเสธ คำขอสินเชื่อหรือส่งงานให้ คณะกรรมการลำดับถัดไป CMGR – Center manager หน้าที่คือ : ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขข้อมูลในสัญญา เช่น วันที่นัดลงนาม วันที จดจำนอง : ติดตามการชำระค่าธรรมเนียม และค่าเบี้ยประกันภัย MMGR – Mortgage manager : เลือกเจ้าหน้าที่ CAOM เพื่อมอบหมายให้ดำเนินการจดจำนอง : ตรวจสอบและแก้ไขการ Scan สัญญาจำนอง 102


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นด้านสินเชื่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google