งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การหาความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Calibration) การหาค่าปริมาตรความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Storage Tank) จะใช้วิธีการ หาค่าปริมาตรของทรงกระบอก โดยมีขั้นตอนการทำงาน ดังนี้ - วัดเส้นรอบวงของถัง ในวงแรกวัดสองระดับ 20% จากขอบล่างขึ้นไปและ จากขอบบนลงมาความยาวในการวัดครั้งละไม่เกิน 10 เมตรจนครบรอบวง ทั้งรอบบนและรอบล่าง - วัดเส้นรอบวงของถังในวงที่สองระดับ 20% เฉพาะขอบบน และวัดเช่นนี้ไป จนครบทุกวง - ตรวจวัดความหนาของถังโดยแต่ละวงทำการตรวจวัดสามระดับล่าง กลาง บน และในวงแรก ตรวจวัดเพิ่มเฉลี่ยแปดจุดรอบถังขอบล่าง - ตรวจวัดความสูงของแต่ละวงทุกวง และวัดระยะจากขอบถังล่างถึงขอบถังบน - ตรวจวัดระยะของช่องหย่อนตรวจระดับสินค้าว่าจากขอบบนถึงแผ่นรองรับ กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

2 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การหาความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Calibration) การหาค่าปริมาตรความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Storage Tank) จะใช้วิธีการ หาค่าปริมาตรของทรงกระบอก โดยมีขั้นตอนการทำงาน ดังนี้ - วัดขนาดของท่อต่างๆ ที่ยื่นออกมาข้างถังมีความยาว ความกว้าง ความหนา เพื่อคำนวนปริมาตรสินค้าที่แทนที่ออกมานอกถัง - วัดท่อและอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ภายในถังวัดขนาดความยาวความหนาเพื่อ คำนวนปริมาตรที่ไปแทนที่สินค้า - ตั้งกล้องส่องพื้นถังเริ่มที่ขอบถังใก้ลท่อวัดระดับระยะห่างขอบถังจุดละ 6 เมตร ระยะเข้าหากล้อง 5 เมตรกล้องตั้งที่จุดกลางถัง - กล้องที่จุดเดิมอ่านค่าของท่อและอุปกรณ์อื่นที่อยู่ในถังสูงจากระดับท่อวัดสินค้า - เขียนแบบจากข้อมูลที่ตรวจวัดและจัดส่งข้อมูลให้ตรวจสอบออกตารางคำนวณ - นำตารางคำนวนส่งขออนุมัติใช้ถังไปกรมสรรพสามิต กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

3 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การหาความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Calibration) สูตรการหาค่าปริมาตรความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Storage Tank) จะใช้วิธีการ หาค่าปริมาตรของทรงกระบอก เส้นรอบวง = p x (รัศมี) (เส้นรอบวงหาได้จากการทำ Tape Strapping) รัศมี = เส้นรอบวง / 2p พ.ท.วงกลม = p (รัศมี)2 ปริมาตรทรงกระบอก = (พ.ท.วงกลม x สูง) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

4 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การหาความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Calibration) การทำ Strapping Tape เพื่อหาเส้นรอบวง เครื่องวัดความหนาของถัง การส่องกล้องเพื่อ ตรวจสภาพถัง กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

5 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การหาความจุถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Calibration) การใช้สายเทปวัด (Sounding Tape) เพื่อวัดความสูงอ้างอิงของภาชนะเก็บเอทานอล กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

6 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) เครื่องวัดระดับอัตโนมัติ ใช้สำหรับวัดปริมาตรความจุของถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Storage Tank) และแสดงผลลัพธ์เป็นค่าปริมาตรในหน่วยลิตร หรือ ลูกบาศก์เมตร โดยจะมีตัวประมวลผลจากค่าความสูงอ้างอิง (Reference Height) ของถังเก็บผลิตภัณฑ์ และค่าเส้นรอบวงของแต่ละช่วงของถัง เพื่อ สร้างตารางการคำนวณ (Tank Table) เมื่อเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ อ่านค่า ความสูงของผลิตภัณฑ์ จะส่งสัญญาณเข้าเครื่องประมวลผล เพื่ออ่านค่าเป็น ปริมาตรต่อไป กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

7 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) เครื่องวัดระดับอัตโนมัติ ที่ใช้งานในปัจจุบัน 2 แบบ ได้แก่ - แบบลูกลอย (Servo Gauge) จะใช้หลักการมีลูกลอยบนผลิตภัณฑ์ในถังเก็บผลิตภัณฑ์ จะอ่านค่าจาก การคำนวณระยะของสายวัดที่ติดกับลูกลอย - แบบใช้คลื่นสะท้อน (Radar Gauge) จะใช้หลักการคำนวณระยะเวลาที่คลื่นเสียงสะท้อนกับผลิตภัณฑ์ในถังเก็บ ผลิตภัณฑ์ และส่งกลับมายังเครื่องส่งสัญญาณ เพื่อคำนวณความสูงของ ผลิตภัณฑ์ (เป็นที่นิยม เนื่องจากมีค่าความแม่นยำ ติดตั้งง่าย ค่าบำรุง รักษาต่ำและง่ายต่อการใช้งาน) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

8 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) - แบบใช้คลื่นสะท้อน (Radar Gauge) รูปภาพแสดงเครื่องวัดระดับแบบใช้คลื่นสะท้อน ในแบบต่าง ๆ กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

9 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับและวัดอุณหภูมิชนิดอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) - แบบใช้คลื่นสะท้อน (Radar Gauge) รูปภาพแสดงหลักการของเครื่องวัดระดับ แบบใช้คลื่นสะท้อน กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

10 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับและวัดอุณหภูมิชนิดอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) - แบบใช้คลื่นสะท้อน (Radar Gauge) รูปภาพแสดงหลักการของเครื่องวัดระดับ แบบใช้คลื่นสะท้อน กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

11 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับและวัดอุณหภูมิชนิดอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) - แบบใช้คลื่นสะท้อน (Radar Gauge) รูปภาพแสดงหลักการของเครื่องวัดระดับ แบบใช้คลื่นสะท้อน กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

12 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับและวัดอุณหภูมิชนิดอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) - แผนผังแสดงเครื่องวัดระดับแบบใช้คลื่นสะท้อน (Radar Gauge) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

13 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
เครื่องวัดระดับและวัดอุณหภูมิชนิดอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) การสอบเทียบเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ เนื่องจากเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ มีการใช้งานอย่างต่อเนื่อง จำเป็นต้องมีการ สอบเทียบเพื่อให้อุปกรณ์ดังกล่าว มีค่าความแม่นยำอยู่ในเกณฑ์การยอมรับ โดยต้องสอบเทียบกับแถบสายเทปวัด (Sounding Tape) และ เครื่องวัด อุณภูมิ (Digital Thermometer) โดยตรวจสอบทุก ๆ 1 ปี โดยกำหนดค่าการยอมรับ (Acceptable Range) ดังนี้ - เครื่องวัดระดับอัตโนมัติกับ Sounding Tape ไม่เกิน +/- 3 มม. - เครื่องวัดอุณหภูมิอัตโนมัติกับ Digital Thermometer ไม่เกิน +/- 0.5 oC (อ้างอิงตาม API MPMS Standard) (หากค่าไม่อยู่ในเกณฑ์ ให้ปรับที่เครื่องวัดระดับและอุณหภูมิอัตโนมัติ เทียบตัวมาตรฐาน) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

14 - เครื่องมือมาตรฐาน เพื่อใช้สอบเทียบเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ
เครื่องวัดระดับและวัดอุณหภูมิชนิดอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG) - เครื่องมือมาตรฐาน เพื่อใช้สอบเทียบเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ แถบสายเทปวัด (Sounding Tape) เครื่องวัดอุณภูมิ (Digital Thermometer) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

15 การตรวจสอบเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ (Automatic Tank Gauging : ATG)
การใช้สายเทปวัด (Sounding Tape) เพื่อสอบเทียบเครื่องวัดระดับอัตโนมัติ ทดสอบซ้ำอย่างน้อย 5 ครั้ง ค่าระดับผิดพลาดไม่เกิน +/- 3 มิลลิเมตร กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

16 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การตรวจสอบเครื่องวัดอุณหภูมิ (Automatic Tank Gauging : ATG) การใช้เครื่องวัดอุณหภูมิ (digital Termometer) เพื่อสอบเทียบเครื่องวัดอุณหภูมิ ทดสอบซ้ำอย่างน้อย 5 ครั้ง ค่าอุณหภูมิผิดพลาดไม่เกิน +/- 0.5 องศาเซลเซียส กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

17 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) เพื่อให้การวัดค่าปริมาตรของผลิตภัณฑ์เป็นไปอย่างถูกต้องแม่นยำ จะต้องมี อุปกรณ์ที่ใช้วัดเทียบกัน เพื่อดูค่าปริมาตรว่าแตกต่างกันหรือไม่ จำเป็นต้อง ติดตั้งมาตรวัดผลิตภัณฑ์ (Flow Meter) เพื่ออ่านค่าเปรียบเทียบกับ เครื่องวัดระดับอัตโนมัติ โดยมาตรวัดที่นิยมใช้สำหรับผลิตภัณฑ์เอทานอล มี 3 ชนิด ได้แก่ - Turbine Meter - Positive Displacement Meter (PD Meter) - Coriolis Meter (Mass Flow Meter) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

18 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) P. Displacement Meter กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

19 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Turbine Meter กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

20 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Coriolis Meter (Mass Flow Meter) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

21 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) P. Displacement Meter เป็นการวัด ซึ่งเรียกตามลักษณะการทำงาน (Operating) หมายถึง ของไหลที่ไหลผ่านมาตรวัด ทำให้ชุดกลไกการวัด หมุนไป 1 รอบ ซึ่งของไหลที่ผ่านออกมา และเข้าไปแทนที่ เดิม มีปริมาณจำนวนหนึ่ง ที่แน่นอนและจะเพิ่มขึ้น ตามรอบ การหมุนหรือตามอัตราการไหลของผลิตภัณฑ์ กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

22 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) P. Displacement Meter กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

23 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Turbine Meter เป็นมาตรวัดที่อาศัยหลักการวัดจากอัตราการไหลของ ผลิตภัณฑ์ ที่ทำให้ใบพัด (Blade) ของชุดหมุน (Rotor) เกิดการหมุนตามอัตราการไหล และการหมุนของใบพัด จะตัดผ่านชุด Pick up coil ทำให้เกิดสัญญาณทางไฟฟ้า และขยายสัญญาณดังกล่าวผ่านชุดภาคขยาย (Pre- Amplifier) จากนั้นส่งไปยังระบบควบคุมและประเมินผล (Batch Controller) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

24 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Turbine Meter กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

25 Buttons of Magnetic Material
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Turbine Meter Magnet Buttons of Magnetic Material Pickup Coil Bearing 1 Rotor Revolution Rotor Rim Type กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

26 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Turbine Meter กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

27 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) เป็นมาตรวัดที่อาศัยหลักการวัดจากอัตราการไหลของผลิตภัณฑ์ ที่ทำให้เกิดการสั่นของท่อภายใน (Internal tube) โดยมีชุด Electromagnetic Pickup ที่ทางเข้าและทางออกตรวจจับการสั่นทำให้เกิดความแตกต่างทางด้านเฟสของสัญญาณไฟฟ้า และนำมาแปลงเป็นอัตราการไหลของผลิตภัณฑ์ที่ไหลผ่านมาตรวัด และขยายสัญญาณดังกล่าวผ่านชุดภาคขยาย (Pre-Amplifier) ส่งไปยังระบบควบคุมและประเมินผล (Batch Controller) Coriolis Flow Meter (Mass Flow Meter) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

28 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Coriolis Flow Meter (Mass Flow Meter) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

29 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Coriolis Flow Meter (Mass Flow Meter) สภาวะไม่มีผลิตภัณฑ์ผ่านมาตรวัด สภาวะมีผลิตภัณฑ์ผ่านมาตรวัด กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

30 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) การสอบเทียบมาตรวัดผลิตภัณฑ์เอทานอล ร่วมกับเจ้าหน้าที่สรรพสามิตจาก กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค ส่วนกลาง และเจ้าหน้าที่สรรพสามิต ผู้ควบคุมและสรรพสามิตพื้นที่ จะทดสอบทุก 1 ปี (Annual Proving) โดยสอบเทียบกับอุปกรณ์มาตรฐาน 2 ชนิด ได้แก่ - Meter Calibration by prover tank (Ref. API MPMS Chapter 4.4) - Meter Calibration by Master Meter (Ref. API MPMS Chapter 4.5) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

31 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Prover Tank Master Meter Digital Thermometer กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

32 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

33 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

34 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) การสอบเทียบมาตรวัดผลิตภัณฑ์เอทานอล ร่วมกับเจ้าหน้าที่สรรพสามิตจาก กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค ส่วนกลาง และเจ้าหน้าที่สรรพสามิต ผู้ควบคุมและสรรพสามิตพื้นที่ จะพิจารณาว่าผ่านตามเกณฑ์หรือไม่ ดังนี้ - ค่าความแม่นยำของมาตรวัด (% Meter Accuracy) ไม่เกิน +/- 0.5% - ค่าการทำซ้ำของมาตรวัด (%Repeatability) ไม่เกิน +/- 0.05% หรือตาม Meter Specification กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

35 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

36 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

37 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) ตัวคูณมิเตอร์ (Meter Factor) อัตราส่วนระหว่างปริมาตรจริงที่อ่านได้จากตัวมาตรฐาน (Prover Volume) กับปริมาตรที่อ่านได้จากเครื่องบันทึกที่ตัวมิเตอร์ (Meter Volume) ดังสมการ ปริมาตรที่อ่านได้จากตัวมาตรฐาน ปริมาตรที่อ่านได้จากมาตรวัด Meter Factor = กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

38 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด Standard Reading (2990 Litre or Kg) Meter Reading (3000 Litre or Kg) Meter Factor = Standard Reading (3010 Litre or Kg) Meter Reading (3000 Litre or Kg) Meter Factor = Standard Reading (3000 Litre or Kg) Meter Reading (3000 Litre or Kg) Meter Factor = กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

39 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Repeatability ผลการทำงานซ้ำๆ กันอย่างต่อเนื่อง แสดงถึงประสิทธิภาพของมาตรวัดว่าอยู่ในสภาวะพร้อมใช้งานหรือไม่ ต้องทำการทดสอบอยู่ภายใต้สภาวะหรือปัจจัยแวดล้อมเดียวกัน เช่น - ผลิตภัณฑ์ (Product) , - ความดัน (Pressure) , - อุณหภูมิ (Temperature) , - ถังตวงมาตรฐาน (Prover Tank) , - มาตรวัดมาตรฐาน (Master Meter) , - เครื่องมือวัด (Measurement) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

40 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) Repeatability Meter Factor (Max.) Meter Factor (Min.) % Repeatability = x 100 M.F. (Max.) - M.F. (Min.) % Repeatability = x 100 M.F. (Min.) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

41 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) ค่าความแม่นยำ (%ACCURACY) ขีดความสามารถของอุปกรณ์เครื่องมือวัด ที่สามารถบ่งบอกค่าประมาณการที่แท้จริงของจำนวนการวัด ตามสมการ % Accuracy = Meter Factor (Average) x 100 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

42 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Repeatability is good but accuracy is bad กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

43 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Repeatability is bad but accuracy is good กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

44 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Repeatability is good but accuracy is good กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

45 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Repeatability is good but accuracy is bad (Most new meter result) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

46 การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration)
Repeatability is good but accuracy is good After adjustment กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

47 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) คำอธิบายในรายงานผลการตรวจสอบ ชื่อและที่อยู่ของบริษัทผู้ประกอบการ, วันตรวจสอบ, ชนิด และสถานที่ติดตั้งมาตรวัด และผู้ร่วมตรวจสอบ รายละเอียดของมาตรวัด ยี่ห้อ, รุ่น, หมายเลขประจำเครื่อง (Serial No.) และผลิตภัณฑ์ ค่าปรับแต่งความแม่นยำ ค่าแสดงผลการตรวจสอบที่ 2 อัตราการไหล ที่อัตราการไหลปกติ 800 ลิตรต่อนาที ได้ค่า Meter Factor = , Repeat = 0.013% ค่าความแม่นยำ (Accuracy) = % - ที่อัตราการไหลย่านต่ำ 300 ลิตรต่อนาที ได้ค่า Meter Factor = , Repeat = 0.013% ค่าความแม่นยำ (Accuracy) = % กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

48 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) ค่าที่พิจารณาในรายงานผลการตรวจสอบ เลือกใช้ครั้งที่ (Run No.) 1 - 3 Meter Factor 800 LPM = [ M.F.(1) + M.F.(2) + M.F.(3) ] / 3 = [ ] / 3 = Repeatability = ([ M.F.(max) / M.F.(min) ] – 1) x 100 Then M.F. (max) = M.F. (min) = = ([ / ] – 1) x 100 = % Accuracy = [ Meter Factor (Average) – 1 ] x 100 = [ – 1 ] x 100 = % กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

49 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) ค่าที่พิจารณาในรายงานผลการตรวจสอบ เลือกใช้ครั้งที่ (Run No.) 1 - 3 Meter Factor 300 LPM = [ M.F.(1) + M.F.(2) + M.F.(3) ] / 3 = [ ] / 3 = Repeatability = ([ M.F.(max) / M.F.(min) ] – 1) x 100 Then M.F. (max) = M.F. (min) = = ([ / ] – 1) x 100 = % Accuracy = [ Meter Factor (Average) – 1 ] x 100 = [ – 1 ] x 100 = % กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

50 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การสอบเทียบมาตรวัด (Meter Calibration) กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

51 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

52 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

53 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

54 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

55 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

56 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

57 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

58 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

59 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

60 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

61 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

62 กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google