ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBruce Bridges ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การเฝ้าระวัง และระบบการรายงานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวัง
4
องค์ประกอบที่ต้องเฝ้าระวัง ๕ มิติ
ปัจจัยต้นเหตุ(Determinants) รากเหง้าของปัญหา Biological determinants Social determinants พฤติกรรมเสี่ยง (Behavioral risk) พฤติกรรมที่ทำให้เสี่ยงและป่วยได้ง่ายขึ้น การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค (Program Response) การกำหนดกลุ่มมาตรการสำคัญที่จะแก้ไขปัญหาของโรคนั้น การป่วย/การตาย (Morbidity/Mortality) การเฝ้าระวังการติดเชื้อ การ ป่วย การตาย และความพิการ เหตุการณ์ผิดปกติและการระบาด (Event-based surveillance) เฝ้าระวังเปรียบเทียบจำนวนและแบบแผนการเกิดโรคเพื่อดูเหตุการณ์ผิดปกติ
5
7 โรค+ บาดเจ็บ ภาค ภาคเกษตรกรรม โรค อุตสาหกรรม มลพิษสิ่งแวดล้อม
1) โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช ภาค อุตสาหกรรม 2) โรคซิลิโคสิส 3) โรคแอสเบสโตสิส 4) โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ 5) การบาดเจ็บจากการทำงาน 6) โรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง 7) โรคพิษสารทำละลายอินทรีย์ มลพิษสิ่งแวดล้อม 8) โรคพิษตะกั่วในเด็กปฐมวัย(0-5 ปี)9) โรค จากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม 7 โรค+ บาดเจ็บ
6
ระบบการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพภาคเกษตรกรรม
7
ICD 10 โรคจากการประกอบอาชีพฯ ที่สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯเฝ้าระวัง
8
การให้รหัสโรคตาม ICD10 การวินิจฉัยหลัก ลงเป็นรหัสโรคหลัก (primary code) ตามกฎของ ICD 10 การบอกว่าเป็นโรคจากการทำงานหรือสิ่งแวดล้อม ทำโดยการใช้รหัสเสริม (secondary code) คู่กับการวินิจฉัยหลัก รหัส Y96 สำหรับโรคที่มีสาเหตุมาจากการทำงาน รหัส Y97 สำหรับโรคที่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม เช่น โรคหอบหืดทั่วไป ลงรหัสที่ 1 –J45.0 โรคหอบหืดจากการทำงานในโรงงานขนมปัง ลงรหัสที่ 1 –J45.0 ลงรหัสที่ 2 – Y96 8
9
ICD10: โรคพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
โรคพิษออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต (T60.0) โรคพิษยาฆ่าแมลงกลุ่มที่มีสารประกอบฮาร์โลเจน (T60.1) โรคพิษยาฆ่าแมลงชนิดอื่นๆ (T60.2) โรคพิษยาฆ่าหญ้าและยาฆ่าเชื้อรา (T60.3) โรคพิษยาฆ่าหนู (T60.4) สารกำจัดศัตรูพืชอื่นๆ (T60.8)
10
ICD10: โรคปอดจากการทำงาน
Silicosis ICD10 รหัส J62.8 Asbestosis J61 โรคฝุ่นจับปอดจากแร่ใยหินและเส้นใยแร่อื่น J92.0 โรคเยื่อหุ้มปอดหนาเป็นแผ่นร่วมกับมีแร่ใยหิน C C45.9 โรคมีโซทิลิโอมา
11
ICD10: โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ
ปวดหลัง(M40-M54.9) ที่พบบ่อย ปวดหลังส่วนล่าง (M54.5) เยื่อหุ้มข้อและปลอกเอ็นอักเสบ (M65) นิ้วล็อค นิ้วไกปืน นิ้วลั่น (M65.3) ปลอกเอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ (M65.4) ความผิดปกติของเนื้อเยื่ออ่อน เนื่องจากการใช้งานมากเกินและแรงกดทับ (M70) ปลอกเอ็นกล้ามเนื้อที่มือและข้อมืออักเสบเรื้อรัง (M70.0) ถุงลดเสียดสีปลายศอกอักเสบ (M70.2) ถุงลดเสียดสีหน้าสะบ้าเข่าอักเสบ (M70.4) เอ็นยืดกระดูกอักเสบแบบอื่นๆ (M77) รอยนูนเหนือปุ่มกระดูกต้นแขนอักเสบด้านใน (M77.0) รอยนูนเหนือปุ่มกระดูกต้นแขนอักเสบด้านนอก(M77.1)
12
ICD10: Organic solvent poisoning
13
โรคพิษโลหะหนัก โรคจากแคดเมียม T 56.3 โรคจากโครเมียม T 56.2
14
โรคจากปัจจัยกายภาพ โรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง H83.3
โรคจากเหตุความร้อน T 67 โรคจากความเย็น T 69
15
การบาดเจ็บ Primary code (S00-T98) การบาดเจ็บทุกลักษณะ ทุกตำแหน่งของร่างกาย Secondary code เป็นรหัส ICD 10 ที่บอกสาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย (V01-Y98) บอกลักษณะและกลไกที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ โดย การลงรหัส ICD 10 สาเหตุ ต้องลงรหัส หลักที่4 (รหัสสถานที่เกิดเหตุ)และหลักที่5 (รหัสกิจกรรม) ให้ครบ เพื่อเป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงสาเหตุของการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงานได้
16
การบาดเจ็บ หลักที่ 1. ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่บอกหมวดหมู่โรค
หลักที่ 2-3 ตัวเลขที่บ่งบอกว่าเป็นโรคใด หลักที่4. รหัสสถานที่เกิดเหตุ .0 บ้าน .1 ที่พักอาศัยรวม .2 ที่สาธารณะ .3 สนามกีฬา .4 ถนน ทางสาธารณะ .5 ย่านการค้า ที่เอกชน .6 โรงงาน สถานที่ก่อสร้าง .7 ไร่ นา สวน พื้นที่การเกษตร .8 สถานที่อื่นๆ .9 ไม่ทราบสถานที่
17
บาดเจ็บจากการทำงาน หลักที่ 5. รหัสกิจกรรม .0 กีฬา .1
ยามว่าง เพลิดเพลิน .2 ทำงานในหน้าที่ หารายได้ .3 ทำงานอื่นๆที่ไม่ได้ค่าจ้าง รวมการเรียน .4 ดื่ม กิน ทำความสะอาดร่างกาย .8 กิจกรรมอื่นๆ .9 ไม่ทราบกิจกรรม
18
Code external cause ของการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน
พลัดตก หกล้ม ลื่นล้ม และตกจากที่สูง W00 - W19 จากแรงเชิงกล วัตถุสิ่งของหล่นใส่ ของมีคมบาด ทิ่มแทง W20 - W49 จากไฟฟ้า รังสี อุณหภูมิ W85 - W99 จากถูกความร้อน ของร้อน ไฟไหม้ X 10 - X19 สัมผัสสิ่งมีพิษ สารเคมี X40 - X49
19
ตัวอย่างการลง ICD10 การบาดเจ็บจากการทำงาน
ดังนั้น ในการลงรหัส ICD 10 การบาดเจ็บจากการทำงาน นอกจากลง ICD10 ในหมวด (S00-T98) แล้วต้องลง รหัส ICD10 ในหมวด V01-Y98 ด้วย พร้อมกับลงรหัสหลักที่ 5 รหัสกิจกรรม เป็น .2(ทำงานในหน้าที่ หารายได้) หรือ .3 (ทำงานอื่นๆ) เพื่อเป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงสาเหตุของการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงาน การลงรหัส เช่น S หมายถึง แผลเปิดที่หนังศีรษะ W หมายถึง ชนหรือกระแทกกับวัตถุอื่น เกิดเหตุที่ โรงงาน/สถานที่ก่อสร้าง ระหว่างทำงานเพื่อหารายได้ จุดสังเกต* (รหัสสถานที่เกิดเหตุ คือ .6) (รหัสกิจกรรม คือ .2)
20
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ระบบรายงานการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม แบบ Online สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
21
ระบบการรายงานสำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ
กำลังพัฒนาน่าจะใช้ได้ กพ 59 สาเหตุที่ต้องพัฒนา 506/2 ไม่ได้ดำเนินงานทุกจังหวัด และปัจจุบันโปรแกรมไม่ได้พัฒนาให้รองรับ window ใหม่ ๆ ทำให้ขาดข้อมูลในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การผลักดันนโยบายต่าง ๆ และขาดข้อมูลการเฝ้าระวังระดับพื้นที่และระดับประเทศ ประโยชน์ นำข้อมูลมาเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง วิเคราะห์สถานการณ์ทั้งระดับพื้นที่และระดับประเทศ และสำหรับการรายงานผลดำเนินงานเพื่อการสนับสนุนงบประมาณ
22
จุดประสงค์ของระบบ : เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ โรค และแนวโน้มการ เกิดโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ใช้ชี้เป้าหมายการดำเนินงาน สะดวก รวดเร็วการเฝ้าระวังการเกิดโรค/ทราบผล ความก้าวหน้าการดำเนินงานของ รพ. ประโยชน์ในการป้องกัน ควบคุมโรคฯ ต่อไป
23
แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
24
ประกอบด้วย ฟอร์มบันทึก 6 ฟอร์ม คือ
ระบบบันทึกข้อมูล ประกอบด้วย ฟอร์มบันทึก 6 ฟอร์ม คือ 1.แบบฟอร์ม OCC แบบฟอร์ม 0CC แบบฟอร์ม RAH.06 2. แบบฟอร์ม OCC แบบฟอร์ม 0CC แบบรายงานคลินิคโรคจากการทำงาน
25
รายละเอียดแบบฟอร์ม แบบฟอร์มOCC\occ01.xls แบบฟอร์มOCC\occ02.xls
แบบฟอร์มOCC\Form_Occ_2_01_ xlsx แบบฟอร์มOCC\Form_Occ_2_02_ xlsx แบบฟอร์มOCC\RAH06_58 (Update22พค58)V.2003.doc แบบฟอร์มOCC\แบบรายงานคลลินิก_UPDATE xlsx
26
หน่วยงานที่ต้องรายงาน
หน่วยงานที่รายงาน Occ.01 Occ.02 Occ.02.1 Occ.02.2 RAH.06 คลินิคโรค โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป √ × รพช. ที่เข้าร่วมโครงการคลินิกโรคจากการทำงาน รพช. ทั่วไปที่ไม่ได้เข้าร่วมคลินิกโรค สคร. ที่ให้บริการตรวจสิ่งแวดล้อมในการทำงาน (ปี 59 เน้นสถานประกอบการกลุ่มเรื่องแร่ใยหิน) สสจ.
27
การส่ง Username และ Password ให้กับหน่วยงาน
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม หนังสือราชการ หน่วยงานทุกหน่วยงาน ส่ง สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม หน่วยงานทุกหน่วยงาน ขอชื่อ เบอร์โทรศัพท์ และ ของผู้รับผิดชอบบันทึกข้อมูล ระดับสสจ.และรพ. และรับผิดชอบการเผ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
28
E-mail : phergroup@googlegroups.com
ถาม/ตอบ ติดต่อผู้รับผิดชอบระบบรายงาน online ของระดับสำนักฯ นายธรณพงษ์ จันทรวงศ์ เบอร์โทร : นายถิรภัทร์ ประกอบการ นางสาวภรณ์ทิพย์ จันต๊ะนาเขต เบอร์โทร ที่อยู่ กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เบอร์โทร : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี เบอร์โทร :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.