ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โดย คุณครูพนิดา กระทุ่มนอก
กรด-เบส โดย คุณครูพนิดา กระทุ่มนอก
2
สารละลายอิเล็กโตรไลต์
สารละลายอิเล็กโตรไลต์ คือ สารที่ละลายน้ำหรือสารที่หลอมเหลวแล้ว สามารถนำไฟฟ้าได้ เช่น NaCl, KNO3 และ HCl ดังนั้น สารที่ไม่นำไฟฟ้า จึงไม่เป็น อิเล็กโตรไลต์ เช่น น้ำตาล และ ยูเรีย
3
ตัวอย่างสารละลายอิเล็กโตรไลต์
1) อิเล็กโตรไลต์แก่ กรด HCl HBrO3 HIO3 HClO4 HNO3 H2SO4 เบส LiOH NaOH Ba(OH)2 Ca(OH)2 Sr(OH)2 เกลือ เกลือส่วนมาก
4
2) อิเล็กโตรไลต์อ่อน กรด HClO H2S HF H3PO4 H2CO3 HNO2 H2SO3 เบส
NH3 และเบสอินทรีย์ เกลือ เกลือเฮไลด์ ไซยาไนด์ และไทโอไซยาเนต ของ Zn Cd และ Hg(II)
5
1. นิยามของกรดและเบส 1.1 นิยามของอาร์เรเนียส
1.1 นิยามของอาร์เรเนียส 1.2 นิยามของบรอนสเตด-เสารี 1.3 นิยามของลิวอิส 1.4 นิยามระบบตัวทำละลาย กรดและเบสมีวิวัฒนาการโดยเริ่มจาก (1) ,(2)ม (3) และ (4) พบว่านิยามเหล่านี้มีความถูกต้องและใช้กันอยู่ในปัจจุบัน การเลือกใช้นิยามขึ้นอยู่กับสภาวการณ์ที่เหมาะสมกับนิยามนั้นๆ การศึกษาในระดับนี้ใช้น้ำเป็นตัวทำละลายมากที่สุด ดังนั้นจึงใช้ (2) มากที่สุด
6
1.1 นิยามของอาร์เรเนียส กรด คือ สารที่ละลายน้ำ แล้ว แตกตัวให้ H+ เช่น
1.1 นิยามของอาร์เรเนียส กรด คือ สารที่ละลายน้ำ แล้ว แตกตัวให้ H+ เช่น HCl H Cl- H2SO4 H HSO4- HCO3- H CO32-
7
เบส คือ สารที่ ละลายน้ำ แล้วแตกตัวให้ OH- เช่น
NaOH Na OH- Ba(OH) Ba OH- Ca(OH) Ca OH-
8
ความแรงของกรดและเบส กรดแก่ คือ กรดที่แตกตัวให้ H+ มาก
เบสแก่ คือ เบสที่แตกตัวให้ OH- มาก เบสอ่อน คือ เบสที่แตกตัวให้ OH- น้อย
9
ปฏิกิริยาสะเทินของกรดและเบส จะเป็นปฏิกิริยาระหว่าง H+ และ OH- เกิดเป็น น้ำ
10
H OH H2O(l) HCl + NaOH NaCl H2O กรด เบส เกลือ น้ำ
11
ข้อจำกัดของนิยามอาร์เรเนียส
สารที่จะเป็นกรดหรือเบสต้องละลายน้ำเท่านั้น สารที่ไม่มี H+ หรือ OH- ในโมเลกุลไม่จัดว่าเป็นกรด หรือเบส เช่น NH4Cl NH3 CH3COONa H+ จะอยู่ในรูป hydrate ion เสมอ เขียนแทนด้วย H3O+ เรียกว่า ไฮโดรเนียมไอออน หรือ ไฮดรอกโซเนียมไอออน
12
1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี
1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี กรด คือ สารที่ ให้ H+ เบส คือ สารที่ รับ H+
13
ปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส เป็นการเคลื่อนย้ายโปรตอนจากกรดไปยังเบส
14
HCl(aq)+H2O(l) H3O+(aq) +Cl-(aq) กรด1 เบส2 กรด2 เบส1
กรด1 เบส กรด2 เบส1 โดย HCl และ Cl- เป็น คู่กรด-เบส คู่ที่ 1(conjugate acid-base) H3O+ และ H2O เป็น คู่กรด-เบส คู่ที่ 2 (conjugate acid-base) และ Cl- เป็นคู่เบส (conjugate base) ของกรด HCl HCl เป็นคู่กรด (conjugate acid) ของ Cl-
15
CO H2O OH HCO3- กรด เบส2 เบส กรด2 NH H2O NH OH- เบส1 กรด2 กรด2 เบส2
16
สารที่เป็นฝ่ายให้และรับ H+ เรียกว่า แอมฟิโปรติก (amphiprotic)
H2O เป็นได้ทั้งกรดและเบส สารที่เป็นฝ่ายให้และรับ H+ เรียกว่า แอมฟิโปรติก (amphiprotic)
17
ความแรงของกรดและเบส ขึ้นอยู่กับความสามารถในการให้และรับ H+
18
ข้อสังเกต 1. สำหรับคู่กรด-เบสคู่หนึ่ง ถ้ากรดเป็นกรดแก่ คู่เบสจะเป็นเบสอ่อน เช่น HCl เป็น กรดแก่ Cl- เป็น เบสอ่อน NH3 เป็น เบสอ่อน NH4+ เป็น กรดแก่ 2. กรดหรือเบสอาจเป็นโมเลกุลหรือไอออนก็ได้ 3. โมเลกุลของน้ำอาจเป็นฝ่ายให้หรือรับ H+ ก็ได้ นั่นคือ น้ำเป็นแอมฟิโปรติกหรือแอมโฟเทอริก
19
ค่าคงที่ของสมดุล สมดุลของกรด
ถ้ามี กรด HA ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ HA(aq)+H2O(l) H3O+(aq)+ A-(aq) จะมีค่าสมดุลดังนี้ Ka = [H3O+][A-] [HA] เมื่อ Ka เป็นค่าคงที่ของการแตกตัวของกรด
20
สมดุลของเบส ถ้ามีเบส B ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ
B(aq) + H2O(l) BH+(aq) + OH-(aq) จะมีค่าสมดุลดังนี้ Kb = [BH+][OH-] [B] เมื่อ Kb เป็นค่าคงที่ของการแตกตัวของเบส
21
ตัวอย่างที่ 1 จงแสดงว่าจากปฏิกิริยาต่อไปนี้ สารใดเป็นเบสและกรดตามทฤษฎีบรอนสเตด-เลารี
KNH2+NH4Cl KCl+2NH3 จากสมการข้างต้นสามารถเขียนใหม่ในรูปสมการไอออนิก : NH NH4+ 2NH3 เบส กรด
22
ตัวอย่างที่ 2 สารต่อไปนี้ สารใดเป็น กรดหรือเบสตามนิยาม
บรอนสเตด-เลารี ก. HI ข. HNO2 ค. NH ง. NH2- จ. HCO3- ก. HI เป็น กรด ข. HNO2 เป็น กรด ค. NH4+ เป็น กรด ง. NH2- เป็น เบส จ. HCO3- เป็น กรดและเบส
23
1.3 นิยามของลิวอิส กรด คือ สารที่รับคู่ e- จากเบสได้ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ เบส คือ สารที่ให้คู่ e- ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ .. .. H+ + :O-H - H-O-H .. .. F H H F H-N: + F-B H-N B-F F H H F เบส กรด
24
ส.ป.ก. ที่ธาตุมี V. e- < 8 หรือมีออร์บิตอลว่าง เช่น BF3 AlCl3 จัดเป็น กรดลิวอิส และเรียกธาตุนั้น ว่า อิเล็กโตรไฟล์ (Electrophile) ส.ป.ก.หรือไอออนที่มีคู่ e- โดดเดี่ยว จัดเป็น เบสลิวอิส และเรียกอะตอมนั้นว่า donor atom หรือนิวคลีโอไฟล์ (Nucleophile) เช่น O ใน OH- N ใน NH3
25
ในปฏิกิริยาสะเทินระหว่างโลหะออกไซด์ เช่น
.. .. O: O: .. .. 2- :O:2- + S-O: :O S-O: .. .. :O: :O: .. ..
26
ตัวอย่างที่ 3 สารต่อไปนี้สารใดเป็นกรดตามนิยามของลิวอิส
NH4+ CH3+ BCl3 Fe2+ H2S ตอบ CH3+ BCl3 Fe2+
27
1.4 นิยามระบบตัวทำละลาย กรด คือ สารที่ให้ไอออนบวกของตัวทำละลาย (ไอออนกรด) เบส คือ สารที่ให้ไอออนลบของตัวทำละลาย (ไอออนเบส) กรด HCl ในตัวทำละลาย HC2H3O2: HCl HC2H3O H2C2H3O Cl- กรด ตัวทำละลาย ไอออนกรดของตัวทำละลาย
28
NaC2H3O2 ในตัวทำละลาย HC2H3O2 :
NaC2H3O2+ HC2H3O C2H3O2-+ Na+ + HC2H3O2 เมื่อกรดและเบสทำปฏิกิริยากันใน HC2H3O2 : H2C2H3O2+ + C2H3O HC2H3O2
29
ตัวอย่างตัวทำละลายที่ใช้ในระบบตัว
ทำละลาย เช่น H2O NH3 HC2H3O2 SO2 เป็นต้น
30
2. ปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรดและเบส
2. ปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรดและเบส กรดไฮโดร - คาบเดียวกัน ความแรง Z EN เช่น NH3> H2O> HF - หมู่เดียวกัน ความแรง Z เช่น HF<HCl<HBr<HI H2O<H2S<H2Se<H2Te
31
กรดออกซี (H-O-Z) ความแรง ENZ ถ้าเป็นกรดออกซีของอโลหะตัวเดียวกัน :
ความแรง จำนวน O-atom Oxidation number HClO<HClO2<HClO3<HClO4
32
เบส - คาบเดียวกัน ความแรง EN เช่น NH3 > H2O > HF
- คาบเดียวกัน ความแรง EN เช่น NH3 > H2O > HF NH2- > OH-> F- ความแรง จำนวนประจุ เช่น N3- > O2- > F- N3- > NH2- > NH2- > NH3
33
Leveling effect เป็นปรากฏการณ์ที่ตัวทำละลายบดบังความแรงของกรดและเบสต่างๆ กรดในน้ำ : HCl + H2O H3O+ + Cl- HNO3 + H2O H3O+ + NO3- HClO4 + H2O H3O+ + ClO4-
34
นั่นคือ เกิด leveling effect ของ น้ำ
น้ำ เป็น leveling solvent
35
ถ้าใช้ HOAc เป็นตัวทำละลาย พบว่า กรดเหล่านั้นจะแตกตัวต่างกัน และได้ว่า
HClO4> HCl > HNO3 ดังนั้น HOAc เป็น differentiating solvent ของกรดเหล่านั้น
36
เบส เบสแก่สามารถเกิด leveling effect ได้เหมือนกรด เช่น NH2- และ H- เป็นเบสแก่เหมือนกันในน้ำ ดังนั้น ถ้าต้องการบ่งบอกความแรงของเบส 2 ชนิดนี้ ต้องใช้ NH3 เป็นตัวทำละลาย
37
3. การแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อน
3. การแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อน
38
3.1 การแตกตัวของกรดโมโนโปรติก
เมื่อ CH3COOH หรือ HOAc ละลายน้ำ จะเกิด dissociation หรือ ionization : HOAc + H2O H3O+ + OAc- 1-a a a โดย Ka = [H3O+][OAc-] [HOAc] เมื่อ Ka = ค่าคงที่ของการแตกตัวเป็นไอออนกรด
39
ความสามารถในการแตกตัว :
= โมลของกรดที่แตกตัว โมลของกรดทั้งหมด เมื่อ = เศษส่วนจำนวนโมลของกรดที่แตกตัว
40
3.2 การแตกตัวของกรดโพลีโปรติก
H2CO3 + H2O H3O+ + HCO3- Ka1 = 4.5 x 10-7 HCO3- + H2O H3O+ + CO3- Ka2 = 4.7 x 10-11 โดยกรดโพลีโปรติก จะมี Ka = Ka1 x Ka2 x Ka3 x...
41
ตัวอย่างที่ 4 จงคำนวณ [H+], [ClO-] และ [HClO] ในสารละลายกรดไฮโปรคลอรัสที่มีความเข้มข้น 0.10 M และคำนวณหาร้อยละการแตกตัวของกรดนี้ด้วย (Ka=3.2x10-8) HClO + H2O H3O+ + ClO- 0.10-x x x จาก Ka = [H3O+][ClO-] [HClO] 3.2x10-8= (x)(x) = x2 0.10-x x = 5.7 x 10-5 M
42
[H+] = [ClO- ] = 5.7x10-5 M [HClO] = 0.10 M ร้อยละการแตกตัว = [H+]x100 [HClO] = 5.7x10-5x100 0.10 = 5.7x10-2
43
3.3 การแตกตัวของเบส เบสจะเกิดการแตกตัวในน้ำเหมือนกับกรด
3.3 การแตกตัวของเบส เบสจะเกิดการแตกตัวในน้ำเหมือนกับกรด NH3 + H2O NH OH- 1-x x x โดย Kb = [NH4+][OH-] [NH3] เมื่อ Kb = ค่าคงที่ของการแตกตัวของไอออนเบส
44
= โมลของเบสที่แตกตัว โมลของเบสทั้งหมด ร้อยละการแตกตัวของเบส = โมลของเบสที่แตกตัว โมลของเบสทั้งหมด x100
45
3.4 ค่าคงที่ผลคูณไอออนของน้ำ (Kw)
น้ำ แอมฟิโปรติก เกิดปฏิกิริยา ดังนี้ HOH + HOH H3O+ + OH- กรด เบส1 เบส กรด2 เรียกปฏิกิริยานี้ว่า การแตกตัวได้เองของน้ำ (autoprotolysis หรือ self-ionization) โดย Kw = [H3O+][OH-] หรือ Kw = [H+][OH-]
46
ในน้ำบริสุทธิ์ ; [H3O+] = [OH-] = (10-14)1/2 = 10-7 M ในกรด ; [H3O+] > 10-7 M ; [OH-] < 10-7 M ในเบส ; [H3O+] < 10-7 M ; [OH-] > 10-7 M
47
3.5 มาตราส่วน pH ซอเรนเสน (Sorensen) เสนอว่า pH = -log [H+] หรือ
[H+] = 10- pH
48
ตัวอย่างที่ 5 ก) จงคำนวณ pH ของสารละลาย 0.10 M HCl ที่ 25C HCl เป็นกรดแก่ แตกตัว 100% [H3O+] = 0.10 M pH = - log [H3O+] = - log (0.10) = 1
49
ข) ในน้ำบริสุทธิ์ มี [H3O+] = 10-7 M
pH ของน้ำ = 7
50
ค) สารละลาย NaOH 0.10 mol.dm-3
pH = ? NaOH เป็นเบสแก่ แตกตัว 100% [OH-] = 0.10 mol.dm-3 จาก Kw = [H+][OH-] [H+] = Kw = 10-14 [OH-] [H+] = pH = - log = 13
51
สรุป สารละลาย pH กรด <7 กลาง 7 เบส >7
52
นอกจากนี้ การบ่งบอกสภาวะการเป็นกรด-เบส สามารถใช้ในรูป pOH ได้ โดย
pOH = - log [OH-]
53
ดังนั้น ในน้ำบริสุทธิ์ :
[H3O+] = [OH-] = 10-7 M pH = pOH = 7 หรืออาจกล่าวได้ว่า pH + pOH = 14
54
ในทำนองเดียวกัน สำหรับค่าคงที่ของสมดุล สามารถเขียนได้ ดังนี้
pK = -log K ดังนั้น acetic acid ที่มี Ka = 1.8x10-5 pKa = - log 1.8x10-5 = 4.74 นั่นคือ pKa กรด
55
ตัวอย่างที่ 6 สารละลาย CO2 อิ่มตัวมี [H3O+] เท่ากับ 1
ตัวอย่างที่ 6 สารละลาย CO2 อิ่มตัวมี [H3O+] เท่ากับ 1.3x10-4 M จงคำนวณ pH ของสารละลายนี้ จาก pH = -log [H3O+] = -log 1.3x10-4 = 3.89
56
ตัวอย่างที่ 7 พลาสมาของโลหิต(blood plasma) ที่ 25 °c มี pH เท่ากับ 7
ตัวอย่างที่ 7 พลาสมาของโลหิต(blood plasma) ที่ 25 °c มี pH เท่ากับ 7.4 จงคำนวณ [H3O+] และ [OH-] จาก [H+] = 10-pH = = 3.9x10-8 M [H+] = 3.9x10-8 M จาก Kw = [H3O+][OH-] = 10-14 [OH-] = Kw = = 2.6x10-7 M [H+] x10-8
57
วิธีวัด pH ของสารละลาย
1. วิธีเปรียบเทียบสี เป็นการวัด pH โดยเติมอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมลงไปในสารละลายหรือใช้กระดาษชุบอินดิเคเตอร์(กระดาษ pH) 2. วัดความต่างศักย์ เป็นการวัด pH โดยใช้เครื่อง pH มิเตอร์ (pH meter) ซึ่งวัดความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้าแก้วและขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน
58
เมื่อไอออนบวกเกิดปฏิกิริยา : เมื่อไอออนลบเกิดปฏิกิริยา :
4. ไฮโดรลิซิส คือ ปฏิกิริยาระหว่างเกลือกับน้ำ ซึ่งละลายน้ำจะแตกตัวให้ไอออนบวกและไอออนลบ เมื่อไอออนบวกเกิดปฏิกิริยา : M+ + H2O MOH H+ (pH<7) เมื่อไอออนลบเกิดปฏิกิริยา : X- + H2O HX OH- (pH>7)
59
เกลือระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ ไม่เกิดไฮโดรลิซิส
เกลือที่จะเกิดไฮโดรลิซิสได้ ต้องเป็นเกลือที่มีไอออนของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนเท่านั้น เกลือระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ ไม่เกิดไฮโดรลิซิส
60
4.1 เกลือของกรดอ่อน-เบสแก่
4.1 เกลือของกรดอ่อน-เบสแก่ เมื่อ OAc- ละลายน้ำจะเกิดไฮโดรลิซิส : OAc- + H2O HOAc + OH- Kh = [HOAc][OH-] = Kw [OAc-] Ka
61
4.2 เกลือของกรดแก่-เบสอ่อน เมื่อ NH4+ ละลายน้ำจะเกิดไฮโดรลิซิส :
4.2 เกลือของกรดแก่-เบสอ่อน เมื่อ NH4+ ละลายน้ำจะเกิดไฮโดรลิซิส : NH4+ + H2O NH3 + H3O+ Kh = [NH3][H3O+] = Kw [NH4+] Kb
62
4.3 เกลือของกรดอ่อน-เบสอ่อน เมื่อ NH4CN ละลายน้ำจะเกิดไฮโดรลิซิส :
4.3 เกลือของกรดอ่อน-เบสอ่อน เมื่อ NH4CN ละลายน้ำจะเกิดไฮโดรลิซิส : NH4+ + H2O NH3 + H3O (1) Kh = [NH3][H3O+] = Kw = = 5.6x10-10 [NH4+] Kb x10-5 CN- + H2O HCN + OH (2) Kh = [HCN][OH-] = Kw = = 2.0x10-5 [CN-] Ka x10-10
63
เมื่อ ปฏิกิริยา (1) + (2) :
จะเห็นได้ว่า ปฏิกิริยา (2) เกิดได้มากกว่า ปฏิกิริยา (1) มี OH- > H3O สารละลายเป็นเบส เมื่อ ปฏิกิริยา (1) + (2) : NH4+ + CN- NH3 + HCN Kh = [NH3][HCN] = Kw [NH4+][CN-] Kax Kb pH = Kwx Ka Kb
64
ข้อสรุปเกี่ยวกับไฮโดรลิซิสของเกลือต่างๆ
แบบของเกลือ ไอออนที่เกิดไฮโดรลิซิส pH กรดแก่-เบสแก่ กรดอ่อน-เบสแก่ ไอออนลบ >7 กรดแก่-เบสอ่อน ไอออนบวก <7 กรดอ่อน-เบสอ่อน ไอออนบวกและลบ 7,<7, >7
65
5. สารละลายบัฟเฟอร์ คือ สารละลายที่เติมกรดแก่หรือเบสแก่จำนวนเล็กน้อยลงไป แล้วไม่ทำให้ pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลง ได้แก่ สารละลายผสมระหว่างกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน หรือ สารละลายผสมระหว่างเบสอ่อนและเกลือของเบสอ่อน
66
เมื่อพิจารณาสมดุลระหว่าง HOAc และ NaOAc ดังสมการ
HOAc + H2O OAc -+ H3O+ Ka = [OAc-][H3O+] [H3O+] = Ka [HOAc] [HOAc] [OAc-] [H3O+] = Ka [กรด] [เกลือ] หรือ pH = pKa - log [กรด] [เกลือ]
67
ถ้ากรดและเกลือมีความเข้มข้นเท่ากัน:
pH =pKa ตัวอย่างที่ 8 สารละลายที่มี HOAc 0.1 โมล และ NaOAc 0.1 โมล ใน 1 dm3 (Ka = 1.8x10-5) บัฟเฟอร์กรด pH = pKa = 4.74
68
ข. เมื่อเติม 1M HCl ลงไป 1 cm3
ก. เมื่อเติมน้ำลงไป : pH = 4.74 ข. เมื่อเติม 1M HCl ลงไป 1 cm3 จะมี H3O+ มาทำปฏิกิริยากับ OAc- = โมล จาก HCl H3O OAc- HOAc + H2O HOAc = = mol OAc = = mol
69
จาก pH = pKa - log [กรด] [เกลือ] = log 0.101 0.099 = ถ้าเติมกรดจำนวนเท่านี้ลงในน้ำ : pH = -log [H3O+] = 3
70
ค. เมื่อเติม 1M NaOH ลงไป 1 cm3
จะมี OH- มาทำปฏิกิริยากับ HOAc = โมล จาก NaOH OH HOAc OAc H2O HOAc = = mol OAc = = mol
71
จาก pH = pKa - log [กรด] [เกลือ] = log 0.099 0.101 = ถ้าเติมเบสจำนวนเท่านี้ลงในน้ำ : pOH = -log [OH-] = 3 pH = = 11
72
หรือ pOH = pKb - log [เบส]
สำหรับสารละลายที่เป็นของผสมระหว่างเบสอ่อนและเกลือของเบสอ่อน เช่น NH3 และ NH4Cl เป็นบัฟเฟอร์ที่เป็นเบส [OH-] = Kb [เบส] [เกลือ] หรือ pOH = pKb - log [เบส] [เกลือ]
73
6. อินดิเคเตอร์สำหรับกรด-เบส
เป็นสารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนและเปลี่ยนสีได้ เมื่อ pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลงไปเป็นค่าที่เหมาะ สม เป็นกรดอ่อนหรือเบสอ่อน อินดิเคเตอร์จะเปลี่ยนสีที่ pH เท่าใดขึ้นอยู่กับค่าคงที่ของสมดุลของอินดิเคเตอร์
74
ช่วง pH ของสารละลายที่อินดิเคเตอร์ค่อยๆเปลี่ยนสีจากสีหนึ่งไปเป็นอีกสีหนึ่ง เรียกว่า ช่วง pH ของอินดิเคเตอร์
75
7. การไทเทรตกรด-เบส เป็นกระบวนการหาปริมาณกรดและเบสที่ทำปฏิกิริยาพอดี แล้วนำไปคำนวณความเข้มข้นของกรดหรือเบส จุดที่กรดและเบสทำปฏิกิริยาพอดีกัน เรียกว่า จุดสมมูล ซึ่งจะมีค่าแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิดของกรดและเบส จุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี เรียกว่า จุดยุติ ดังนั้นควรเลือกอินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีตรงช่วงจุดสมมูล หรือใกล้เคียงมากที่สุด
76
7.1 การไทเทรตกรดแก่กับเบสแก่ จุดสมมูลของสารละลายมี pH เท่ากับ 7
7.1 การไทเทรตกรดแก่กับเบสแก่ จุดสมมูลของสารละลายมี pH เท่ากับ 7
77
7.2 การไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่ จุดสมมูลของสารละลายมี pH มากกว่า 7
7.2 การไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่ จุดสมมูลของสารละลายมี pH มากกว่า 7
78
7.3 การไทเทรตกรดแก่กับเบสอ่อน จุดสมมูลของสารละลายมี pH น้อยกว่า 7
7.3 การไทเทรตกรดแก่กับเบสอ่อน จุดสมมูลของสารละลายมี pH น้อยกว่า 7
79
7.4 การไทเทรตกรดโพลิโปรติกกับเบสแก่
7.4 การไทเทรตกรดโพลิโปรติกกับเบสแก่ จุดสมมูลของสารละลายจะขึ้นกับค่าคงที่ของการแตกตัวของกรด
80
แบบฝึกหัด
81
จงคำนวณ pH ของสารละลายต่อไปนี้ ก. สารละลาย 0. 14 M HCOOH ( pH = 2
จงคำนวณ pH ของสารละลายต่อไปนี้ ก. สารละลาย 0.14 M HCOOH ( pH = 2.31) ข. สารละลาย NH4Cl เข้มข้น M ( pH = 4..93) ค. สารละลายแอมโมเนีย dm3 ที่มี NH3 ละลายอยู่ 0.86 mol ( pH = 11.89) ง. สารละลายของ NaCN 0.40 dm3 ที่มี NaCN ละลายอยู่ mol ( pH = 11.73) 2. จะต้องใช้โซเดียมอะซิเตตกี่โมลละลายน้ำ เพื่อให้สารละลายมีปริมาตร 0.25 dm3 และมี pH = (0.028 mol )
82
เมื่อเติม M HCl cm3 ลงในสารละลายที่มี Na2CO3 30 g ในน้ำ 350 cm3 สารละลายนี้จะมี pH เท่าใด (10.2) เมื่อผสม M H2SO cm3 กับ 0.12 M KOH 30 cm3 ก. สารละลายที่ได้จะเป็นกรดหรือเบส (เบส) ข. สารละลายจะมี pH เท่าใด (12.19 ) จงคำนวณ [H+][ClO-] และ [HClO] ในสารละลายกรดไฮโป คลอรัสที่มีความเข้มข้น0.10 M และคำนวณหาร้อยละการแตกตัว ของกรดนี้ด้วย ([H+] = [ClO-] = 5.7 x 10-5 M, [HClO] = 0.10 M, ร้อยละการแตกตัวของกรด = 5.7 x 10-2 )
83
6. สารละลาย 0. 13 M ของกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งมี pH = 5
6.สารละลาย 0.13 M ของกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งมี pH = 5.45 จงคำนวณค่า Ka ของกรดนี้ (9.69 x ) 7. ไอออนลบ (A-) ของเกลือ KA ในสารละลาย 0.1 F เกิด ไฮโดรลิซิส 8% จงคำนวณ Kaของกรดนี้ (1.4 x ) 8.อัตราส่วนของกรดฟอร์มิกและเกลือฟอร์เมตควรจะเป็นเท่าใดจึงจะ ทำให้สารละลายบัฟเฟอร์ของกรด-เกลือคู่นี้มี pH = 2.89 (7.3 )
84
อินดิเคเตอร์ (HIn) มีค่าคงตัวสมดุลเท่ากับ 1 x เมื่อ อยู่ในรูปของ HIn จะมีสีเหลือง แต่ใน รูปของ In- จะมี สีเขียว ถ้าอินดิเคเตอร์นี้อยู่ในสารละลายที่มี pH เท่ากับ 7 สารละลายจะมีสีอะไร (เขียว ) 10. จงคำนวณ pH ของสารละลายในการไทเทรต M กรดเบนโซอิก 3 cm3 กับ 0.100M NaOH 30 cm3 ก. เมื่อหยดสารละลาย NaOH ลงไป 10 cm3 (3.9 ) ข. เมื่อหยดสารละลาย NaOH ลงไป 30 cm3 (8.45 ) ค. เมื่อหยดสารละลาย NaOH ลงไป 40 cm3 (12.16 )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.