ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
บูรณาการงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2560 กลุ่ม 4 แผนงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
2
ผลการประชุมกลุ่ม 1) เป้าหมายการดำเนินงาน ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2560 2) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561
3
68 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
พรมแดนแม่สาย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ พรมแดนแม่สอด พรมแดนสังขละบุรี (เจดีย์สามองค์) พรมแดนบ้านพุน้ำร้อน ท่าเรือกรุงเทพ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานหัวหิน พรมแดนสิงขร ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ ท่าเรือระนอง ท่าเรือภูเก็ต ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าเรือกระบี่ พรมแดนปาดังเบซาร์ พรมแดนเบตง พรมแดนสุไหงโก-ลก พรมแดนบูเก๊ะตา ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าเรือสงขลา ท่าเรือนครศรีธรรมราช ท่าเรือเกาะสมุย ท่าอากาศยานเกาะสมุย ท่าเรือเกาะสีชัง ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือศรีราชา พรมแดนบ้านหาดเล็ก (คลองใหญ่) ท่าเรือมาบตาพุด ท่าอากาศยานอู่ตะเภา พรมแดนบ้านผักกาด พรมแดนบ้านแหลม พรมแดนคลองลึก พรมแดนช่องจอม (กาบเชิง) พรมแดนภูสิงห์ (ช่องสะงำ) พรมแดนช่องเม็ก พรมแดนเทศบาลท่าเรือมุกดาหาร พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๒ พรมแดนเทศบาลท่าเรือนครพนม พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๓ พรมแดนบึงกาฬ ท่าอากาศยานอุดรธานี พรมแดนท่าลี่ พรมแดนท่าเรือวัดหายโศก พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๑ พรมแดนสถานีรถไฟหนองคาย พรมแดนห้วยโก๋น ท่าอากาศยานแม่สอด พรมแดนตากใบ พรมแดนสะพานมิตรภาพ 4 ท่าเรือเชียงแสน พรมแดนสะเดา พรมแดนบ้านประกอบ พรมแดนเชียงคาน ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง ด่านควบคุมโรคฯ ใน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 26 แห่ง ท่าอากาศยาน 3 แห่ง / ท่าเรือ 2 แห่ง/ พรมแดน 21 แห่ง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 68 ท่าอากาศยาน 17 แห่ง พรมแดน 33 แห่ง ท่าเรือ 18 แห่ง ท่าอากาศยานนราธิวาส
4
แผนพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560
แผนพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 เป้าหมาย ช่องทางเข้าออกประเทศ จำนวน 68 แห่ง ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามแนวทางของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR, 2005) ร้อยละ 90 ของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด ช่องทางเข้าออกประเทศ สรต สำนักงานป้องกันควบคุมโรค รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 จำนวนช่องทางฯ 4+2 - 9+5 68 (แห่ง) หมายเหตุ: ช่องทางหลังเครื่องหมาย +หมายถึง ช่องทางฯ ที่มีด่านควบคุมโรคฯ สังกัด สสจ.(เชียงราย ตรัง สตูล ปัตตานี นราธิวาส) มาตรการที่สำคัญ มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ มาตรการที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR,2005)
5
แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560
แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ เป้าหมาย สำนักโรคติดต่อทั่วไป พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบเฝ้าระวังของด่านควบคุมโรคที่ช่องทาง พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ช่องทางอย่างมีประสิทธิภาพ(ผ่านคณะอนุกรรมการ/คกก.โรคติดต่อจังหวัด/คกก.พัฒนาฯช่องทาง) สนับสนุนการดำเนินงาน (ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน) ภารกิจพื้นฐาน ช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR 2005) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ช่องทางเข้าออกประเทศ ร่วมพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด่านฯ/เครือข่าย สนับสนุนการปรับปรุง พัฒนา คู่มือการปฏิบัติงานประจำด่านฯ สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของช่องทางเข้าออกประเทศ สนับสนุนการฝึกซ้อม/ถอดบทเรียนแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ของช่องทางในพื้นที่รับผิดชอบ สนับสนุนการดำเนินงานภารกิจพื้นฐาน (เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ/พาหะนำโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) ประชุมคณะทำงานประจำช่องทาง/ คณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ (ด่านเป็นบทบาทเลขาฯ) ประเมินตนเอง โดยใช้ คู่มือ CCAT จัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯ ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ และสอดคล้องกับผลการประเมินตนเอง ดำเนินการพัฒนาช่องทางฯ ตามแผนฯ ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน (ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ มาตรา 37 และ ตามภาคผนวก 1ข ของ IHR 2005) จนท.ด่านควบคุมโรค ปรับปรุง พัฒนาคู่มือการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ
6
แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 (ต่อ)
แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 (ต่อ) มาตรการที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (IHR,2005) สำนักโรคติดต่อทั่วไป ช่องทางเข้าออกประเทศ ชี้แจงเกณฑ์และแนวทางการประเมินฯ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาฯ ช่องทางในความรับผิดชอบและสุ่มประเมินช่องทางฯ ในส่วนภูมิภาคโดยทีมประเมินจากส่วนกลาง วิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาในภาพรวม ช่องทางฯ เตรียมการรองรับและสนับสนุนการติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางจากโดยทีมติดตามและประเมินจากส่วนกลาง และ สคร. ช่องทางฯ จัดเตรียมข้อมูลและเอกสารการปฏิบัติงานตามข้อกำหนดของCCAT เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือนและลงข้อมูลในระบบฐานข้อมูลด่านควบคุมโรคฯ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ชี้แจงแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ในพื้นที่รับผิดชอบ ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ 65แห่ง โดยทีมติดตามและประเมินจาก สคร. 1-2, ,8-12 วิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาเพื่อปิด gap
7
แผนผังกิจกรรมการพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ ปีงบประเทศ 2560
ที่ กิจกรรมหลัก ผู้ดำเนินการ แผนการดำเนินงาน เอกสารประกอบ ต.ค. 59 พ.ย. 59 ธ.ค. ม.ค. 60 ก.พ. มี.ค. เม.ย.60 พ.ค. มิ.ย.60 ก.ค.60 ส.ค. ก.ย.60 1 ประสานและชี้แจงเป้าหมาย/ตัวชี้วัด/มาตรการในการดำเนินงานและแนวทางการประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตป. 9-10 รายงานการประชุมชี้แจง 2 ช่องทางเข้าออกประเทศประเมินตนเอง (Self assessment) โดยใช้คู่มือประเมินตนเอง CCAT ช่องทางฯ ด่านฯ 26 แห่ง ด่านฯ 42แห่ง สคร.รวบรวมผล self assessment มายังสำนัก ต. 3 -ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก/คณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ -จัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯที่สอดคล้องกับผลประเมิน ช่องทางฯ (สคร. สนับสนุน) ด่านฯ 68 แห่ง สคร.รวบรวมแผนพัฒนาช่องทางฯ ปี 2560 มายังสำนัก ต. 4 สคร.สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ (ด้านวิชาการ วัสดุอุปกรณ์ การเตรียมความพร้อมตอบโต้ฯ) สคร. ผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ (68 แห่ง) 5 สคร. รายงานผลการดำเนินงานฯ เช่น ผลการดำเนินโครงการพัฒนาช่องทางฯ รายงานผลการประชุมคณะทำงานประจำช่องทางฯ ผลการฝึกซ้อม/ปรับปรุงแผนตอบโต้ฯ ของช่องทางในสังกัด เป็นต้น รายงาน มายังสำนักต. เพื่อสรุปภาพรวม(กพร.ติดตาม) 6 ส่วนกลางจัดอบรมจนท.ด่าน 3 ครั้ง รายงานผลการจัดอบรม 7 ส่วนกลางแต่งตั้งทีมติดตามฯ และลงพื้นที่ติตดามและสนับสนุน ทีมติดตามและแผน/ผลการติดตามฯ 8 ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ของช่องทางฯ ที่รับผิดชอบ (Internal audit) โดยใช้คู่มือ CCAT - ผล Internal audit (68 แห่ง) - แผนพัฒนาช่องทางปี 2561 9 วิเคราะห์และสรุปผลการประเมินช่องทางเข้าออกประเทศพร้อมข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหาร สคร.รวบรวมส่งผลการประเมินมายังสำนักต. (68 แห่ง) 10 สัมมนาวิชาการด่านควบคุมโรค ผลการดำเนินงาน 11 สรุปผลการประเมินช่องทางฯ ในภาพรวม รายงานในระบบ estimates ผลการประเมินช่องทางฯ ในภาพรวมทั้งประเทศ สรุปส่วนกลาง ดำเนินการ 1. อบรมเจ้าหน้าที่ด่านฯ 3 ครั้ง (q1-q3) 2. ทีมติดตามฯ ส่วนกลางสุ่มติดตามช่องทาง และส่งผลประเมินให้สคร., ช่องทาง (q2-q4) 3. จัดสัมมนาวิชาการด่านควบคุมโรคฯ (3ส.ค.) 4. รวบรวม&สรุป รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางในภาพรวมทั่วประเทศ (q4) สรุปสคร. ส่งผลการดำเนินงานมายังสำนักต. ดังนี้ ผลself assessment ช่องทางฯ 68 แห่ง (q1) แผนพัฒนาช่องทางฯ 68 แห่ง (q1-q2) ผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ (ผลการประชุมคกก.ช่องทาง, ผลการพัฒนาจนท.ด่าน ช่องทาง, ผลการฝึกซ้อมแผน, ฯลฯ รายไตรมาส 2,3,4 (q2-q4) ผล Internal audit 68 แห่ง & แผนพัฒนาปี 61 (ภายใน ส.ค. 60) ผ่านทางหนังสือราชการหรือ
8
ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560
ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560 ช่องทางเข้าออกประเทศ 68 แห่ง SDA 0617 SDA0619_1 (เชิงคุณภาพ) นอกพื้นที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 42 แห่ง PSA04_1** SDA1135_1 SDA 1133 ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SZE) (10 จังหวัด) จำนวน 26 แห่ง ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (PSA04_1) จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (SDA 0617 และ SDA 1133) เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางฯ (SDA0619_1 และ SDA1135_1)
9
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ
ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์ การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (ตัวชี้วัด : PSA04_1)** ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) POE เป้าหมาย POE 26 แห่ง ในเขตSEZ ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางฯ ที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด แห่ง (ร้อยละ) เป้าหมาย 17 (94.4) 18 46 (90.2) 51 52 (77.6) 67 54 (80.6) ผ่านเกณฑ์การประเมิน > 50 % ของ CCAT & กระบวนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ เป้าหมาย ปี 2560 เกณฑ์ที่กำหนดในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 2.จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ หรือคณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 3.ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4.ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) โดยใช้ CCAT 5.ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกของตนเอง 6.สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ ช่องทางฯ(Internal audit) โดยใช้ CCAT วิเคราะห์ สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการดำเนินงาน ไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป ร้อยละ 90 (23 แห่ง จาก 26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : PSA04_1 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล จัดทำแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ประเมิน Internal audit (CCAT) วิเคราะห์ผล & เสนอปัญหาและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร แจ้งผลการประเมินให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป(รายงาน SAR ในระบบ Estimates รอบ 6, 9 และ 12 เดือน ) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป รวบรวมข้อมูล จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวม & รายงาน SAR ในระบบ Estimates
10
จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ. ศ
จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (68 แห่ง) (ตัวชี้วัด : SDA0617 และ SDA 1133) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศ*ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 จำนวน เป้าหมาย - 51* 51 51 54 67 POE ที่ได้รับการพัฒนาตาม IHR 2005 ช่องทางฯ มีการดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ครบทั้ง 3 ประเด็น เป้าหมาย ปี 2560 (42 แห่ง) นอกเขต SEZ KPI : SDA0617 (26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : SDA1133 เป้าหมาย การดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก จัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาช่องทางฯ ของตนเอง 2.เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ ได้รับการอบรมพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การควบคุมพาหะนำโรค และการดำเนินงานด้านสุขาภิบาล (ยานพาหนะ/สิ่งแวดล้อม) 3. ช่องทางฯ จัดทำสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมอย่างน้อย 1 เรื่อง ได้แก่ 1) การตรวจตราควบคุมกำกับด้านสิ่งแวดล้อมภายในช่องทาง (น้ำ อาหาร ขยะ น้ำเสีย อากาศ ฯลฯ) 2) การควบคุมพาหะนำโรค 3) การเฝ้าระวังโรคหรือภัยสุขภาพภายในช่องทางฯ 4) การตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล - รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ในระบบ Estimates SM - สรุปผลตามแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ภายในวันที่ 25 ของเดือนสิ้นไตรมาส สคร. 1-2, 5-6, 8-12 - รวบรวมข้อมูลจากแบบรายงาน SAR ของหน่วยงาน - จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวมโดยรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ในหน่วยงานชื่อ “ภาพรวมกรม” ภายในวันที่ 30 ของเดือนสิ้นไตรมาส สำนักโรคติดต่อทั่วไป
11
เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถ ในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ (ร้อยละ 75) (ตัวชี้วัด : SDA0619_1และ SDA 1135_1) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานด่านช่องทางเข้าออกประเทศ ร้อยละ 95.0 86.7 80.89 เครือข่าย POE ที่มีความพึงพอใจ ผลการประเมินความพึงพอใจ ที่มีค่าคะแนนระดับมาก คือ มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มทั้งหมด เป้าหมาย ปี 2560 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน 1 แห่ง นอกเขต SEZ KPI : SDA0619_1 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน จังหวัดละ 1 แห่ง ซึ่งไม่ซ้ำกับนอกเขต ในเขต SEZ KPI : SDA1135_1 เป้าหมาย การวิเคราะห์/แปลผล ความพึงพอใจ วัดเป็น Rating scale 5 ของเครือข่ายที่มีความพึงพอใจต่อการการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์/แปลผล ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด สูตรการคำนวณ จำนวนเครือข่ายที่มีความพึงพอใจฯ x 100 จำนวนเครือข่ายที่ตอบแบบประเมินทั้งหมด สำรวจความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินฯ ตามแบบประเมินกลาง โดยสุ่มเก็บข้อมูลจากเครือข่ายหรือผู้รับบริการของช่องทางฯ ปีละ 1 ครั้ง ในช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการดำเนินงาน จัดทำรายงานและแจ้งผลการประเมินฯ ให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป - รวบรวมข้อมูล และจัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ใน“ภาพรวมกรม”
12
ผลการประชุมกลุ่ม 1) เป้าหมายการดำเนินงาน ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2560 2) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561
13
แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา อัตรากำลัง ไม่เพียงพอต่อภาระงาน ( ไม่มีจนท.ประจำ /1 คนดูแลมากกว่า1แห่ง /บางแห่งเปิด24ชั่วโมงฯลฯ) อัตรากำลังไม่เหมาะสมตามที่จัดสรรจริง ด่านฯ สสจ. ไม่ใช่ภารกิจหลัก ไม่มีจนท.ประจำ บริหารจัดการแบบหมุนเวียนจนท.พื้นที่ (สสอ./ รพ.สต.) ขาดความต่อเนื่องของการดำเนินงาน และไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม ขาดจนท.สายงานสนับสนุน เช่น นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่ธุรการ เป็นต้น ปฏิบัติงานประจำด่านฯ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านระบบสารบรรณ ผู้บริหาร/ผู้ที่รับผิดชอบจัดสรรให้มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ ตามกรอบอัตรากำลัง/ความเหมาะสม จนท.ด่านสสจ./สคร. ประสานผู้บริหารของด่านสสจ.เพื่อทราบนโยบาย แนวทางและข้อมูลการพัฒนาช่องทางฯ สคร.เป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาช่องทางฯ ให้แก่ด่านสสจ. ผู้บริหารพิจารณาสนับสนุนจนท.ธุรการ นักจัดการงานทั่วไป ตามความเหมาะสม (อาจใช้การจ้างเหมา) บุคลากร
14
แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ทักษะบุคลากร ขาดทักษะ และความชำนาญในการปฏิบัติงาน ( โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานใหม่) บุคลากรด่านฯ มีความหลากหลายในเรื่องวุฒิการศึกษา อาจไม่สามารถปฏิบัติงานด้านต่างๆได้ เช่น ให้การปฐมพยาบาลหรือฉีดยา การตรวจตราสิ่งแวดล้อมฯ เป็นต้น ความก้าวหน้าและความมั่นคงในอาชีพและสิทธิประโยชน์ ขาดขวัญกำลังใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานมีความแตกต่างระหว่างหน่วยงาน 5. ส่วนกลางควรเสริมสร้างความรู้ทักษะให้แก่จนท.ใหม่ (มีหลักสูตรความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับจนท.ใหม่) 6. ส่วนกลางควรมีการพัฒนาทักษะ และศักยภาพในการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ อย่างต่อเนื่อง (ทบทวนความรู้ พัฒนาทักษะ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเดิม) 7. สคร./สสจ.ควรพัฒนาจนท.เฉพาะด้านฯ ตามgapที่มีให้แก่จนท.ด่านฯ ที่รับผิดชอบ (จัดอบรม/ส่งเข้าอบรมฯลฯ) 8. ผู้บริหารผลักดันด่านฯ เป็นหน่วยบริการสุขภาพ บุคลากร(ต่อ)
15
แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ไม่มีสถานที่ปฏิบัติงาน ไม่มีแบบแปลนมาตรฐานกลางของสถานที่ปฏิบัติงาน ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือเครื่องมือที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ บางรายการไม่มีรายละเอียดของครุภัณฑ์ (สเป็คกลาง)เช่น เทอร์โมแสกน จนท.ด่านฯ ประสานผู้มีอำนาจในช่องทางเพื่อขอพื้นที่ในการสร้างสถานที่ปฏิบัติงาน คกก.ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาโครงสร้างภายในช่องทางฯ ส่วนกลางควรมีการเสนอกองแบบแผน ในการออกแบบแปลนกลางมาตรฐาน เพื่อใช้เป็นแบบแปลนมาตรฐานเดียวกัน อาจกำหนดลักษณะตามขนาดพื้นที่ จนท.ด่านฯ/สคร. ควรเตรียมแผนของบลงทุนในการจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ โดยสำรวจวัสดุครุภัณฑ์ที่ขาดแคลน และเตรียมข้อมูล รายละเอียด ให้พร้อมเพื่อให้สามารถของบประมาณได้ทันในแต่ละช่วงเวลา ส่วนกลางกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน สเป็คกลาง เพื่อให้สอดคล้องกันทุกด่าน โครงสร้างพื้นฐาน
16
แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา งบประมาณไม่เพียงพอ งบประมาณไม่ได้ถูกนำมาใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ ส่วนกลางของบประมาณในภาพรวม ด่านฯ สังกัดสสจ.จัดทำแผนงบประมาณในการพัฒนาช่องทาง เสนอหน่วยงานต้นสังกัด ด่านฯ /สคร.บริหารจัดการงบประมาณที่ได้รับจัดสรรอย่างมีประสิทธิภาพ งบประมาณ
17
แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ทีมประเมินส่วนกลาง/ สคร. มีแนวทางการประเมินไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทีมประเมินจากสคร. มีการหมุนเวียนของเจ้าหน้าที่ทำให้ขาดความต่อเนื่องและความเข้าใจในเรื่องเกณฑ์การประเมินที่ไม่ตรงกัน เครื่องมือที่ใช้ประเมินมีเนื้อหาค่อนข้างมาก ไม่กระชับ สสจ.ไม่รู้จักเครื่องมือประเมิน ผู้รับการประเมินขาดความพร้อมในการรับประเมิน เช่น เอกสารไม่ครบถ้วน หน่วยงานเครือข่ายบางแห่งยังไม่เข้าใจบทบาทของตนเองที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาช่องทางฯ ตามIHR2005 ส่วนกลาง/สคร. จัดอบรมร่วมกับสสจ.เกี่ยวกับแนวทางการติดตามและประเมินผลที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อสร้างความเข้าใจของผู้ประเมินและสามารถประเมินผลไปในมาตรฐานเดียวกัน ทีมประเมินควรมีการประสาน และชี้แจงแนวทางการประเมินให้กับหน่วยงานที่รับการประเมินให้มีความชัดเจน ประชุมช่องทางฯ เพื่อชี้แจงข้อกำหนดและความสำคัญของIHR2005 และร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาช่องทาง พร้อมทั้งการเตรียมความพร้อมรับการประเมิน ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างด่านฯ การประเมินผล
18
ผลการประชุมกลุ่ม 1) เป้าหมายการดำเนินงาน ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2560 2) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561
19
แผนการพัฒนาช่องทางฯ ตาม IHR2005
ระยะ 5 ปี (พ.ศ ) เป้าหมาย หน่วย งาน กิจกรรม ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 -ร้อยละของช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด คู่มือประเมิน: CCAT เป้าหมาย: ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศทั่วประเทศ 68 แห่ง แบ่งเป็น - นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ 42 แห่ง - ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 26 แห่ง *ค่าเป้าหมายอาจมีการปรับเปลี่ยนขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล สรต. -พัฒนา/เพิ่มขีดความสามารถจนท. /เครือข่าย (อบรม/ประชุม/สัมมนา) - สนับสนุนการดำเนินงาน - ภารกิจพื้นฐาน(เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ/พาหะนำโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) -ติดตามและประเมินผล ร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (61 แห่ง) 68แห่ง ร้อยละ100 (68แห่ง) เป้าหมาย68แห่ง 30 เกณฑ์ระดับปานกลาง (20แห่ง) ร้อยละ50เกณฑ์ระดับปาน กลาง (34แห่ง) ร้อยละ70เกณฑ์ระดับปานกลาง เป้าหมาย (48แห่ง) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สสจ.เชียงราย, ตรัง, สตูล, ปัตตานี, นราธิวาส
20
เป้าหมายปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัด: ร้อยละ100 ของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เกณฑ์ขั้นต่ำ) > 50 % ของ CCAT & กระบวนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นฐาน - มีเจ้าหน้าที่ประจำด่านควบคุมโรคฯ - จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามพ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 - ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง - ช่องทางฯ Self assessment โดยใช้ Core Capacities Assessment Tool: CCAT - ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ - สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ (Internal audit) เสนอผู้บริหาร
21
ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561
พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรค /เจ้าหน้าที่ช่องทางฯ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (ส่วนกลาง/สคร.จัดอบรม, ส่งจนท.เข้าอบรม, การศึกษาดูงานด่านต่างประเทศ/ด่านฯต้นแบบ) พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของช่องทางเข้าออกประเทศ (ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก/คณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ) พัฒนา คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ (การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานประจำด่าน, SOP, พัฒนางานวิชาการ R2R ฯลฯ) สนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อการพัฒนามาตรฐานการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ - ค่าอุปกรณ์ วัสดุวิทยาศาสตร์ หรืออื่นๆที่จำเป็นในการเฝ้าระวังโรค สิ่งแวดล้อม ยานพาหนะ ฯลฯ ภายในช่องทาง - ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ (อาหาร น้ำ อากาศ ฯลฯ) - การเฝ้าระวังพาหะนำโรคในช่องทางฯ - การฝึกซ้อม/ ถอดบทเรียน/ทบทวน เพื่อปรับปรุงแผนตอบโต้ฯ ให้เป็นปัจจุบัน - ค่า OT (เฉพาะด่านฯ คร) ติดตาม และประเมินการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548
22
กิจกรรมภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศ
การฝึกซ้อมแผนระหว่างไทย-มาเลเซีย (สคร.12) สคร.2 Twin cities (ไทย-ลาว) : อุตรดิต-ไชยบุรี สสจ.เชียงราย Twin cities (ไทย-ลาว) : เชียงราย-บ่อแก้ว สคร.6 Twin cities : บ้านแหลม-พระตะบอง, ผักกาด-ไพลิน, คลองใหญ่-เกาะกง, อรัญประเทศ-บันเตียเมียนเจย สคร.8 Twin cities : หนองคาย-เวียงจันทร์, นครพนม-คำม่วน สคร. 10 ที่มี CCA มุกดาหาร
26
กิจกรรมภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศ
การฝึกซ้อมแผนระหว่างไทย-มาเลเซีย (สคร.12) สคร.2 Twin cities (ไทย-ลาว) : อุตรดิต-ไชยบุรี สสจ.เชียงราย Twin cities (ไทย-ลาว) : เชียงราย-บ่อแก้ว สคร.6 Twin cities : บ้านแหลม-พระตะบอง, ผักกาด-ไพลิน, คลองใหญ่-เกาะกง, อรัญประเทศ-บันเตียเมียนเจย สคร.8 Twin cities : หนองคาย-เวียงจันทร์, นครพนม-คำม่วน
27
รายละเอียดระดับการพัฒนาฯ
ระดับพื้นฐาน - มีเจ้าหน้าที่ประจำด่านควบคุมโรคฯ - จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามพ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 - ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง - ช่องทางฯ Self assessment โดยใช้ Core Capacities Assessment Tool: CCAT - ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ - สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ (Internal audit) เสนอผู้บริหาร
28
ระดับปานกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค มีแผนสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศในความรับผิดชอบ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคสนับสนุนด้านวิชาการ เช่น จัดอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ หรือส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมอบรมที่ส่วนกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สนับสนุนการจัดทำ/ฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ของช่องทางเข้าออกประเทศ สนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค มีผลการประเมินช่องทางเข้าออกประเทศ โดยใช้เครื่องมือขององค์การอนามัยโลก Joint external evaluation tool: International Health Regulations (2005) (JEE: IHR) - ตัวชี้วัด(JEE)ภาวะปกติ ระดับที่ 1,4,5 ดำเนินการทุกช่องทาง และระดับ 2,3 ช่องทางที่กำหนดต้องดำเนินการ - ตัวชี้วัด(JEE)ฉุกเฉิน ประเมินเฉพาะระดับที่ 1 ตามเครื่องมือโครงสร้างของแผนฉุกเฉินที่กำหนด (International Health regulations(2005) A guide for public health emergency contingency planning at designated points of entry)
29
มีผลงานวิชาการเผยแพร่ในระดับประเทศหรือต่างประเทศ
ระดับดี มีการบูรณาการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สำรวจความพึงพอใจของเครือข่ายฯ ที่มีต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ระดับอ้างอิง มีผลงานวิชาการเผยแพร่ในระดับประเทศหรือต่างประเทศ มีการประเมินประสิทธิภาพของการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ ตลอดจนพิมพ์เผยแพร่ หรือมีการฝึกซ้อมแผนตอบโต้ฯ ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน
30
แผนงานโครงการเสนอของบประมาณประจำปี 2561 ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปี 2561
ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปี 2561 กิจกรรมสำคัญ ผลผลิตโครงการ งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ กิจกรรมที่ 1. ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก 26 แห่ง ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1,040,000 งบสำหรับสคร. กิจกรรมที่ 2 อบรมบุคลากรที่ปฏิบัติงานช่องทางฯ บุคลากรปฏิบัติงานช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการอบรมจำนวน 26 แห่ง 3,900,000 กิจกรรมที่ 3 อบรมเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ 3 หลักสูตร อบรมเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จำนวน 150 ราย 2,800,000 งบดำเนินการของส่วนกลาง กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงานด่านควบคุมโรคฯ (เช่นเฝ้าระวังผู้เดินทางระหว่างประเทศ สุขาภิบาลยานพาหนะ และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังพาหะนำโรคที่ช่องทางฯ เป็นต้น) ด่านควบคุมโรคฯในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 26 แห่ง 5,240,000 ส่วนกลาง 800,000.-บาท สคร. 4,440,000.-บาท กิจกรรมที่ 5 ปรับปรุงคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ ที่สอดคล้องกับ พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ และพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของแผนการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ได้คู่มือปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 26 แห่ง 2,940,000 ส่วนกลาง 500,000.-บาท สคร. 2,440,000.-บาท กิจกรรมที่ 6 ติดตาม และประเมินการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม IHR 2005 ผลการประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ และแผนพัฒนาฯในปีถัดไปจำนวน 26 แห่ง 3,160,000 ส่วนกลาง 2,250,000.-บาท สคร. 910,000.-บาท รวม 19,080,000 งบส่วนกลาง 6,350,000.- บาท งบสำหรับ สคร.12,730,000.- บาท
31
แนวทางการดำเนินงานติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
กลุ่มที่ 2
32
การติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา 1. การติดต่อสื่อสารระหว่างช่องทางฯ เช่น การอัพเดทบัญชีรายชื่อ - อัพเดทบัญชีรายชื่อให้เป็นปัจจุบัน โดยการทำหนังสือประสานการขอรายชื่อ หรือการจัดประชุม 2. ทีมประเมินจากสคร. มีการหมุนเวียนของเจ้าหน้าที่ทำให้ขาดความต่อเนื่องและความเข้าใจในเรื่องเกณฑ์การประเมินที่ไม่ตรงกัน - จัดให้มีการฝึกอบรมทีมประเมิน ให้มีความเข้าใจใน CCAT ที่ตรงกัน 3. ด้านสิ่งแวดล้อม ขาดการระบุเกณฑ์หรือคู่มือแนวทางที่ใช้ในการตรวจวัดคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งท่าอากาศยาน ท่าเรือและพรมแดน - ศึกษาและหาคู่มือแนวทางมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจวัด 4. ด้านบุคลากรด่านฯ บุคลากรด่านฯมีความหลากหลายในเรื่องวุฒิการศึกษา อาจไม่สามารถให้การปฐมพยาบาลหรือฉีดยาได้ ขาดบุคลากร สถานที่และอุปกรณ์ในการดำเนินงาน (บางแห่งเจ้าหน้าที่คนเดียวรับผิดชอบงาน 3 ด่าน) ควรจัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลหรือมีเจ้าหน้าที่ที่มีวุฒิการศึกษาที่สามารถให้การปฐมพยาบาลหรือฉีดยาได้ ด่านฯ ควรยกระดับเป็นหน่วยบริการสุขภาพ ให้การรักษาพยาบาล สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และป้องกันควบคุมโรค การออกกฎหมายคุ้มครองผู้ปฏิบัติงานรักษาพยาบาล สคร.ให้การสนับสนุน
33
การติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา 5. ขาดแนวทางการจัดการศพมนุษย์ที่ชัดเจน - ให้ส่วนกลางสนับสนุน SOP การจัดการศพมนุษย์ เพื่อนำไปปรับใช้ 6. ไม่มีการดูแลรักษาและส่งต่อสัตว์ป่วย รวมทั้งไม่มีพื้นที่ในการกักสัตว์ป่วย ทำได้เพียงแค่ทำลายเชื้อ ส่วนกลาง(ตป.)ประสานกรมปศุสัตว์ 7. การฝึกอบรม เนื่องจากมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเจ้าหน้าที่และบุคลากรที่ทำงานนานกว่า 3 ปี ทำให้เกิดปัญหาเรื่องการขาดใบรับรองการฝึกอบรม - สคร. หรือส่วนกลาง จัดฝึกอบรม
34
ข้อเสนอแนะ - การจัดตั้งด่านฯต้นแบบ/ด่านฯอ้างอิง
อบรมให้เจ้าหน้าที่ด่านฯมีความรู้เรื่องเวชศาสตร์การเดินทางและการท่องเที่ยว การสุขาภิบาลเรือ และการจัดทำเว็บไซต์ ให้มีการนิเทศไขว้ ระหว่างสคร. เช่น สคร. 1 ไปประเมิน สคร. 2
35
แผนโครงการเสนอของบประมาณ ปี 2561
กิจกรรมที่ 7 วัสดุอุปกรณ์ (การปฐมพยาบาล, อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ, ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ) กิจกรรมที่ 8 การฝึกซ้อมแผนตอบโต้ของช่องทางฯ กิจกรรมที่ 9 การศึกษาดูงานต่างประเทศ กิจกรรมที่ 10 การศึกษาดูงานด่านฯต้นแบบ
36
กิจกรรมภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศ
การฝึกซ้อมแผนระหว่างไทย-มาเลเซีย (สคร.12) สคร.2 Twin cities (ไทย-ลาว) : อุตรดิต-ไชยบุรี สสจ.เชียงราย Twin cities (ไทย-ลาว) : เชียงราย-บ่อแก้ว สคร.6 Twin cities : บ้านแหลม-พระตะบอง, ผักกาด-ไพลิน, คลองใหญ่-เกาะกง, อรัญประเทศ-บันเตียเมียนเจย สคร.8 Twin cities : หนองคาย-เวียงจันทร์, นครพนม-คำม่วน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.