Operator of String Data Type

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Advertisements

ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
ตัวแปรชุดของอักขระ String
การประมวลผลสายอักขระ
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 10 สตริง.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Practical with Flowchart
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
1.NET Framework Class อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
Queue Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao.
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
เกม คณิตคิดเร็ว.
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ข้อมูลและการดำเนินการกับข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมแบบวนรอบทำซ้ำ
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
Number system (Review)
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 10 อาร์เรย์ (Array)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
ฟังก์ชันในภาษา C.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
Week 5 C Programming.
คำสั่งวนรอบ (Loop).
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Operator of String Data Type Laboratory I Operator of String Data Type

String รูปแบบการกำหนดตัวแปรสตริง ตัวอย่าง Data Type (ชนิดข้อมูล) ที่เป็นสายอักขระเรียงต่อเนื่องกันโดยมีจุดสิ้นสุดที่ตัวอักษรพิเศษที่เรียกว่า Null Character แสดงด้วยโค้ด ‘\0’ รูปแบบการกำหนดตัวแปรสตริง char ชื่อตัวแปรสตริง[จำนวนตัวอักษร]; ตัวอย่าง char str[80]; char msg[] = “Welcome to Silpakorn University”

gets gets(ตัวแปรสตริง); ตัวอย่าง เป็นฟังก์ชันใช้สำหรับรับค่าตัวแปรสตริงจากคีย์บอร์ด รูปแบบการใช้ gets(ตัวแปรสตริง); ตัวอย่าง char str[80]; printf(“Enter : ”); gets(str); printf(“result is \n%s\n”,str); Enter: cat is white Result is cat is white

strcpy strcpy(สตริงปลายทาง, สตริงต้นทาง); ตัวอย่าง เป็นฟังก์ชันใช้สำหรับคัดลอกค่าสตริงต้นทางไปยังตัวแปรสตริงปลายทาง รูปแบบการใช้ strcpy(สตริงปลายทาง, สตริงต้นทาง); ตัวอย่าง char str[80]; strcpy(str, “trains is very slow”); printf(“result is \n%s\n”,str); Result is trains is very slow

strcat strcat(สตริงปลายทาง, สตริงต้นทาง); ตัวอย่าง เป็นฟังก์ชันนำสตริงต้นทางไปต่อท้ายสตริงปลายทาง รูปแบบการใช้ strcat(สตริงปลายทาง, สตริงต้นทาง); ตัวอย่าง char str[80]; char *postfix = “korn”; strcpy(str, “Silpa”); Strcat(str, postfix); printf(“result is %s\n”,str); Result is Silpakorn

strcmp strcat(สตริง s1, สตริง s2); ตัวอย่าง รูปแบบการใช้ strcat(สตริง s1, สตริง s2); ตัวอย่าง char str[80] = “abcd”; int x = strcmp(str, “abcd”); printf(“result is %d\n”,x); Result is 0

strcmp ผลลัพธ์ เป็นค่าจำนวนเต็ม โดยถ้า s1 น้อยกว่า s2 จะได้ผลลัพธ์มีค่าน้อยกว่าศูนย์ 0 โดยถ้า s1 เท่ากับ s2 จะได้ผลลัพธ์มีค่าเท่ากับศูนย์ 0 โดยถ้า s1 มากกว่า s2 จะได้ผลลัพธ์มีค่ามากกว่าศูนย์ 0 ตัวอย่าง printf(“result is %d\n”, strcmp(“ABCD”, “abcd”)); printf(“result is %d\n”, strcmp(“abcd”, “abcd”)); printf(“result is %d\n”, strcmp(“abcd”, “ABCD”));

strlen strlen(สตริง); ตัวอย่าง เป็นฟังก์ชันไว้สำหรับหาความยาวของสตริง รูปแบบการใช้ strlen(สตริง); ตัวอย่าง char str[80] = “abcd”; int x = strlen(str); printf(“result is %d\n”,x); Result is 4

strtok เป็นฟังก์ชันสำหรับแยกสตริงด้วยการกำหนดตัวแยกเป็นสตริง ตัวอย่างเช่น char a = “ab-cdefg-hijk”; ถ้าเราให้ตัวแยกเป็น “–” จะได้ว่าสตริงข้างต้นมี 3 สตริงย่อยคือ สตริงย่อยตัวที่ 1 คือ ab สตริงย่อยตัวที่ 2 คือ cdef สตริงย่อยตัวที่ 3 คือ hijk

strtok strtok(สตริง s1, สตริง s2); ขั้นตอนการทำงานของฟังก์ชัน รูปแบบการใช้ strtok(สตริง s1, สตริง s2); a1 a2 s2 s1 ขั้นตอนการทำงานของฟังก์ชัน หาสตริง s2 ที่ปรากฏใน s1 ถ้าเจอแทน s2 ด้วย null character คืนค่า s1 /0

strtok วิธีการใช้งานจริงจะต้องมี 2 ขั้นคือ strtok(str, “-”); strtok(NULL, “-”);

ตัวอย่างโปรแกรมใช้ strtok #include <stdio.h> #include <conio.h> #include <string.h> void main(){ char str[80]; char *p; clrscr(); strcpy(str, “cat&dog”); p = strtok(str, “&”); printf(“%s\n”,p); getch(); }

atoi atoi(สตริงในรูปตัวเลข); ตัวอย่าง เป็นฟังก์ชันสำหรับแปลงค่าข้อความสตริงที่อยูในรูปตัวเลขให้เป็นค่าตัวเลขที่สามารถนำมาคำนวณได้ ถ้าไม่สามารถแปลงได้จะคืนค่าศูนย์มาให้ เช่น “abc” เป็นต้น รูปแบบการใช้ atoi(สตริงในรูปตัวเลข); ตัวอย่าง int x = atoi(“123”); printf(“result is %d\n”,x); Result is 123

ตัวอย่างโปรแกรมใช้ atoi #include <stdlib.h> #include <stdio.h> #include <string.h> int main(void){ int n; char *str; strcpy(str,"123.4567"); n = atoi(str); printf("string = %s integer = %d\n", str, n); strcpy(str,"123"); n = atoi(str); strcpy(str,"T123"); n = atoi(str); strcpy(str,"1T23"); n = atoi(str); strcpy(str,"123T"); n = atoi(str); return 0; }