Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
1st Law of Thermodynamics
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Phase equilibria The thermodynamics of transition
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
งานและพลังงาน (Work and Energy).
Mathematical Statement of the Problem
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
พลังงานภายในระบบ.
Centrifugal Pump.
(Internal energy of system)
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
อุณหพลศาสตร์ Thermodynamics
Review of Basic Principle of Thermodynamics 1
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
1.6 The enthalpy กิจกรรมฝึกคำนวณเกี่ยวกับ Calorimetry
อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)
Physics Thermodynamics-1
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
บทที่ 9 เทอร์โมไดนามิกส์เคมี
Property Changes of Mixing
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics กฎข้อที่หนึ่งเป็นเรื่องของการคงตัวของพลังงาน (conservation of energy) ระบบจะเปลี่ยนสภาวะไปในทิศทางใดก็ได้ ตราบเท่าที่พลังงานที่เกี่ยวข้องไม่สูญหาย หรือเกิดขึ้นมาเอง ในชีวิตประจำวัน เราพบว่า ขบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง มักมีทิศทางของการเกิดในทางหนึ่งเสมอ เช่น เอาจานใส่น้ำตั้งทิ้งไว้ในอากาศที่แห้ง, วัตถุร้อนและเย็นเอามาแตะกัน ขบวนการในธรรมชาติจะมีทิศทางที่แน่นอนในการเปลี่ยนแปลง และมักเกิดในลักษณะที่ย้อยกลับไม่ได้ (Irreversible process)

The 2nd Law of Thermodynamics การเปลี่ยนแปลงแบ่งออกได้เป็นสองชนิด Spontaneous กระบวนการที่เกิดขึ้นเองได้ Non-spontaneous กระบวนการที่เกิดขึ้นเองไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงแบบ Spontaneous จะเกิดขึ้นได้เองโดยไม่ต้องอาศัยงานจากภายนอก Spontaneous Non- Spontaneous Spontaneous with Ext. work

Heat Engine Heat Engine (เครื่องจักรความร้อน) เปลี่ยนความร้อนเป็นงาน Working substance Cyclic process (เมื่อครบรอบ U=0; w=-q) Heat source (TH) and heat sink (TC) โดย TH> TC Heat flow in: qH (+), Heat flow out: -qC (+) Efficiency, e

Kelvin-Planck statement The Second Law of Thermodynamics ขบวนการตามธรรมชาติจะมีแนวโน้มเข้าสู่สภาวะสมดุล Kelvin-Planck statement กล่าวว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างเครื่องจักรที่ทำงานเป็น cycle โดยการเปลี่ยนความร้อน ให้เป็นงาน เพียงอย่างเดียวโดยไม่สูญเสียความร้อนออกไป เราไม่สามารถเปลี่ยนพลังงานความร้อน ให้เป็นงานได้ 100% ด้วยเครื่องจักรที่ทำงานเป็น cycle Heat Reservoir Heat Engine Sink work

Clausius statement กล่าวว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างเครื่องจักรที่ทำงานเป็น cycle โดยการส่งผ่านความร้อน จากแหล่งอุณหภูมิต่ำ ไปยังแหล่งอุณหภูมิสูง นอกเสียจากว่าจะมีการทำงานให้กับ ภายนอกเครื่องจักร Heat Reservoir Heat Pump Sink Impossible!

(ทุกกระบวนการเป็น Reversible process) Carnot’s Principle ไม่มีเครื่องจักรความร้อนใดที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเครื่องจักรความร้อนแบบ Reversible (ทุกกระบวนการเป็น Reversible process) Cold Reservoir Super Engine Rev. Heat Pump Hot Reservoir Hot reservoir work work Violate the 2nd law!! Net work

Carnot’s Cycle TH THTC THTC TH TH  TC  THTC  THTC  TH TH วัฏจักรคาร์โนต์ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน และทุกขั้นตอนเป็นกระบวนการ Reversible 1-2 & 3-4: Reversible Isothermal Expansions (no internal energy change) 2-3: & 4-1: Reversible Adiabats (no heat transfer) TC V P 1 2 3 4 Isotherm adiabatic TH

Maximum efficiency: the Carnot cycle We can represent the Carnot cycle on a PV diagram Adiabatic P V a b c d QH QL W TH Isotherm Reversible isothermal expansion a b TL Reversible adiabatic expansion b c Reversible isothermal compression c d Reversible adiabatic compression d a

Reversible isothermal expansion Calculating heat, work, and changes in internal energy P V a b c d QH QL W State a b Reversible isothermal expansion TH TL Adiabatic Isotherm

A  B: Isothermal process, hence the change in internal energy is……? Ans: 0 ? A  B: If the volume at point B is twice that at point A, derive an expression for the work done in the isothermal expansion. ? A  B: QH is…..?

Reversible adiabatic expansion State b c Reversible adiabatic expansion P V a b c d QH QL W TH W2 เป็นลบ TL (1)

Reversible isothermal compression d QH QL W Reversible isothermal compression c d TH TL QL = W3

Reversible adiabatic compression State d a Reversible adiabatic compression P V a b c d QH QL W TH W4 เป็นบวก TL (2)

งานสุทธิที่เครื่องจักรทำงานแบบ cycle, W = -W1 - W3 = QH - QL = (-W1 – W2) – (W3 + W4) -W2 = W4 งานสุทธิที่เครื่องจักรทำงานแบบ cycle, W = -W1 - W3 = QH - QL

ประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักร = งานสุทธิที่เครื่องจักรทำ ความร้อนที่เครื่องจักรรับเข้าไป Thermal Efficiency

นิยามเอนโทรปี (entropy) Entropy คือ state function ที่อธิบายถึงความไม่เป็นระเบียบของระบบ State function Extensive property สำหรับ Reversible Process เปลี่ยนแปลงของ S (S) หาได้จากการเปลี่ยนแปลงแบบ Reversible เท่านั้น การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีรวม

Calculation of Entropy Changes การเปลี่ยนแปลงแบบวัฏจักร (cyclic) การเปลี่ยนแปลงแบบ adiabatic การเปลี่ยนสถานะ (T, P คงที่) การเปลี่ยนแปลงที่ P คงที่ การเปลี่ยนแปลงของ Ideal Gas (Reversible)

Calculation of Entropy Changes การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของสาร Solid Liquid Gas T/K S/(J/mol K) fusion vaporization

Calculation of Entropy Changes กระบวนการผันกลับได้ (TsysTsur) กระบวนการผันกลับไม่ได้จะเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (spontaneous process) สำหรับกระบวนการใดๆ

Calculation of Entropy Changes Irreversible phase change (using rev. path) P V Irreversible a b x y

1 mol of H2O Liquid H2O 263 K Ice 273 K Reversible Irreversible Step 1 ระบบจะต้องรับความร้อนเข้ามาเพื่อเพิ่มอุณหภูมิจาก 263 K ไปเป็น 273 K ภายใต้ความดันคงที่

Liquid H2O 263 K Ice 273 K Reversible Irreversible Step 2 เป็นการเปลี่ยนสถานะ (phase) ซึ่งต้องคายความร้อนออกมาที่ T = 273 K (-q rev) นั่นคือความร้อนแฝงของการหลอมเหลว = (1.00)(6,000 J/mol)

การเปลี่ยนแปลงนี้จะคายความร้อนออกมา 5627.5 J Step 3 = 2.81 + (-21.97) + (-1.42) J/K = -20.58 J/K การเปลี่ยนแปลงนี้จะคายความร้อนออกมา 5627.5 J

Calculation of Entropy Changes Mixing of different inert perfect gases at constant p and T Va Vb Va+Vb

ข้อสรุปเกี่ยวกับ entropy 1. S (gas) > S (liquid) > S (solid) 2. สารที่มีสถานะเดียวกัน entropy จะเพิ่มขึ้นตามมวลของโมเลกุลนั้นๆ 3. สารที่แข็งมากจะมี entropy ต่ำกว่าสารที่แข็งน้อย และสารที่มีมวล มากจะมี entropy สูง 4. Entropy จะเพิ่มตามอุณหภูมิ เนื่องจาก T เพิ่ม KE เพิ่มตาม เป็นผลให้ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยลง และมีอิสระในการเคลื่อนที่มากขึ้น

ข้อสรุปเกี่ยวกัย The 2nd Law of Thermodynamics Entropy S: the measure of the disorder of matter and energy กระบวนการที่ก่อให้เกิดการลดลงของ Suniv เกิดขึ้นไม่ได้ และกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของ Suniv เกิดเองได้และเป็นกระบวนการผันกลับไม่ได้ ที่สมดุล ค่า S จะมีค่ามากที่สุด S > 0 Spontaneous; Irreversible S=0 Equilibrium S <0 Non-spontaneous S Time Equilibrium reached

The 3rd Law of Thermodynamics เอนโทรปีเป็นปริมาณที่ใช้บอกความไม่เป็นระเบียบของระบบ เมื่อสารมีความเป็นระเบียบมากที่สุดกำหนดให้ S=0 เอนโทรปีของสารที่เป็นผลึกสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 0 K มีค่าเป็น 0 Solid Liquid Gas T/K S/(J/mol K) Perfect Crystal

The Chemical Reaction Entropy The reaction Entropy The spontaneous of chemical reaction

Helmholtz Free Energy จากกฎข้อที่ 1 และกฎข้อที่ 2 ที่อุณหภูมิและปริมาตรคงที่ Helmholtz Free Energy ที่อุณหภูมิและปริมาตรคงที่ A จะลดลงในกระบวนการ irreversible spontaneous และมีค่าน้อยที่สุดที่สมดุล

Helmholtz Energy กระบวนการที่เกิดขึ้นเองอาจทำให้ entropy ของระบบลดลง (1) หรือ เพิ่มขึ้น (2) Surroundings q Surroundings q

ตัวอย่าง C6H12O6 is oxidized to carbon dioxide and water at 25 C according to C6H12O6(s) + 6O2(g)  6CO2(g) + 6H2O(l), calorimetric measurements give = -2808 kJ mol-1 and =+182.4 JK-1 mol-1 at 25 C. How much of this energy can be extracted as (a) heat at constant pressure, (b) work? ความร้อน = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปี จำนวนโมลของแก๊สที่เปลี่ยนไปเท่ากับ 0 งานที่มากที่สุด

The Third Law of Thermodynamics “entropy ของสารบริสุทธิ์ ธาตุ หรือ สารประกอบในรูปผลึกแบบสมบูรณ์ (perfect crystal) ณ อุณหภูมิศูนย์องศาสัมบูรณ์มีค่าเท่ากับ 0” ST = entropy ของสารที่อุณหภูมิ T S0 = entropyของสารที่อุณหภูมิ 0 K

เนื่องจากความดันคงที่ T > boiling Temperature dqrev = nCpdt ให้สารชนิดหนึ่งหลอมเหลวที่อุณหภูมิ Tf และมีจุดเดือดที่อุณหภูมิ Tb T > boiling Temperature

Calculate standard reaction entropy of Standard Entropy Calculate standard reaction entropy of At 25 C = 69.9 – { 130.7+0.5(205.0)} = -163.3 J K-1 mol -1