โครงการวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับชมละครไทยและซีรีย์เกาหลีของนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา  

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รสวรรณกรรม สันสกฤต.
Advertisements

วรรณคดีสำคัญ สมัยกรุงธนบุรี.
นางสาวศศิวิมล จันทรังษี สาขาการสอนคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
กระบวนการแสวงหาความรู้
Card Reader และ ประเภทการ์ดหน่วยความจำ
แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในโรงเรียน กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล
WEEK 6-7 รู้จัก เข้าใจ ในตนเอง
ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System :CMS) Worapoj promjuk.
การส่งเสริมสุขจิต วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก
เอกสารการส่งออก.
ARC4409 ระบบอาคารอัจฉริยะ
การพัฒนาคอมโพเนนต์ในเชิงลึก
การส่งเสริมสุขจิต วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
ข้อกำหนดทางธุรกิจในยุคดิจิตอล
กระบวนการแสวงหาความรู้
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร
สมาชิกกลุ่ม 1.นางสาวกรรณิกา ยศกลาง 2.นางสาวขวัญเรือน ศรีมงคล
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ก้าวแรก ผู้ค้า ออนไลน์
วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีจริยศาสตร์ จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
โทรศัพท์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับชมละครไทยและซีรีย์เกาหลีของนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา  

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับชมละครไทยกับซีรี่ย์เกาหลีของนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา

นักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยานิยมชมซีรี่ย์เกาหลีมากกว่าละครไทย สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยานิยมชมซีรี่ย์เกาหลีมากกว่าละครไทย

ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากร คือ นักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา จำนวน 3,431 คน และกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา จำนวน 300 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ พฤติกรรมการชมละครไทยและซี่รีย์เกาหลี 3. ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ เดือนกันยายน -เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ข้อตกลงเบื้องต้น 1. กลุ่มตัวอย่างทำแบบสอบถามด้วยความเต็มใจและให้ข้อมูล ตามความเป็นจริง 2. เมื่อผู้ตอบแบบสอบถามได้สอบถามเรียบร้อยแล้ว จะเก็บแบบสอบถามคืนเพื่อป้องกันการสูญหาย  

นิยามศัพท์เฉพาะ ซีรี่ย์เกาหลี หมายถึง ละครชุดของประเทศเกาหลีที่มีการจัดแบ่งออกเป็นหมวดๆอย่างมีระบบโดยใช้นักแสดงที่เป็นคนเกาหลี ส่วนใหญ่ในการถ่ายทอด ใช้เทคนิคในการนำเสนอและออกอากาศทางโทรทัศน์

นิยามศัพท์เฉพาะ ละครไทย หมายถึง การนำเสนอเรื่องราวของละครของประเทศไทยโดยใช้นักแสดงที่เป็นคนไทยส่วนใหญ่ในการถ่ายทอด ใช้เทคนิคในการนำเสนอ และออกอากาศทางโทรทัศน์

นิยามศัพท์เฉพาะ พฤติกรรมการชมละคร หมายถึง ความสนใจในการชม ความถี่ในการชม ระยะเวลาในการติดตาม การชื่นชอบในตัวละคร และเนื้อเรื่อง

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบถึงพฤติกรรมการรับชมละครไทยกับซีรี่ย์เกาหลีของนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยาซึ่งมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการแสดงออกทางอารมณ์ของนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 1. ความหมายของละครไทย 2. ความหมายของซีรัย์เกาหลี 3. งานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบพฤติกรรมการชมละครไทยและละครเกาหลีของผู้ชมในกรุงเทพมหานคร 4. งานวิจัยเรื่องพฤติกรรมการเปิดรับชมรายการโทรทัศน์ภายในมหาวิทยาลัยรามคำแหง 5. งานวิจัยเรื่องเพฤติกรรมการเปิดรับชมและความต้องการรายการโทรทัศน์ของเด็ก

วิธีดำเนินการวิจัย 1. ประชากร คือ นักเรียนของโรงเรียนสตรีวิทยา จำนวน 3,611 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนสตรีวิทยา จำนวน 300 คน โดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ตอนได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว ตอนที่ 2 พฤติกรรมการรับชมละครไทย ตอนที่ 3 พฤติกรรมการรับชมซีรีย์เกาหลี

วิธีดำเนินการวิจัย 4. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยแจกแบบสอบถามให้กับนักเรียนนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา จำนวน 300 คน 5. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละค่าสถิติ t พร้อมทั้งนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ตาราง และแผนภูมิ

ปฏิทินปฏิบัติงาน กิจกรรม ปีการศึกษา 2554 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1. กำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย  2. ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. เขียนโครงการวิจัย 4. การสร้างเครื่องมือ 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 7. การเขียนรายงานวิจัย 8. การตรวจทานรายงานวิจัย 9. การแก้ไขรายงานวิจัย 10. การนำเสนอและเผยแพร่

งบประมาณ ค่าแบบสอบถาม 150 บาท ค่าซีดี 20 บาท ค่าสัน ปกใส 20 บาท ค่าแบบสอบถาม 150 บาท ค่าซีดี 20 บาท ค่าสัน ปกใส 20 บาท ค่าอุปกรณ์อื่นๆ 100 บาท รวมทั้งสิ้น 290 บาท

ผู้รับผิดชอบโครงการวิจัย 1. นางสาวภัคจิรา ธรรมมานุธรรม (หัวหน้า) ชั้น ม.4.3 เลขที่ 26 2. นางสาวกาญจนา ทองรัตนตรัย ชั้น ม.4.3 เลขที่ 1 3. นางสาวฉวีวรรณ วรินทรนุวัตร ชั้น ม.4.3 เลขที่ 3 4. นางสาวชนาภัทร บัวแตง ชั้น ม.4.3 เลขที่ 5 5. นางสาวตรีวริญญ์ จุฑาชีวนันท์ ชั้น ม.4.3 เลขที่ 13 6. นางสาวเพ็ญประภา จันทนภานันท์ ชั้น ม.4.3 เลขที่ 25

บรรณานุกรม 1.[ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก http://researchcommarts.blogspot.com/2010/06/blog-post_25.html   (วันที่ค้นข้อมูล: 22 สิงหาคม 2554). 2.[ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก http://www.dpu.ac.th/laic/page.php?id=6116 (วันที่ค้นข้อมูล: 21 สิงหาคม 2554). 3.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www.positioningmag.com/magazine/printnews.aspx?id=37650 (วันที่ค้นข้อมูล: 22 สิงหาคม 2554).