การใช้ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลงศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาการระบาด (EPIDEMIOLOGY)
Advertisements

หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
Trypanosoma.
พยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ
พยาธิตัวกลมในระบบหมุนเวียนเลือด น้ำเหลืองและเนื้อเยื่อ
Giardia duodenalis (lamblia)
11. ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขัน และอัตรา ความเร็วของจังหวะดนตรีในทุกรอบ ของการแข่งขัน ระยะเวลาของดนตรีที่ ใช้บรรเลงในจังหวะ Waltz, Tango, Slow Foxtrot,
Clinical Correlation Cardiovascular system
Basic ICD-10 โดย ผศ.นพ.วีระศักดิ์ จรัสชัยศรี คณะแพทยศาสตร์
B ASIC C ONCEPTS OF E PIDEMIOLOGY. What is Epidemiology? Greek roots: Epi : Upon. Demos: Human population. Logia: Science. “Science that deals with the.
Health, Oral Health, and Elderly Quality of Life
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ TMT ในการบริหารจัดการระบบยาของโรงพยาบาล
Facilitator: Pawin Puapornpong
Increase infective propagules for Inoculation,Taxonomy, etc.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่2015
วิทยาการระบาดและธรรมชาติของโรค
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Introduction: Parasitology
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลงศัตรูพืช วิไลวรรณ เวชยันต์ สุวิมล วงศ์พลัง กลุ่มงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ลำตัวยาวเรียวคล้ายเส้นด้าย ส่วนหัวกลมมน ไม่มีข้อปล้อง ส่วนหางแคบและเรียวที่ปลาย ตัวอ่อนระยะแรก ลำตัวโปร่งใส เมื่อโตเต็มที่ตัวทึบแสง

วงจรชีวิต ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน (juveniles) แบ่งออกได้ 4 ระยะ โดยการลอกคราบ ระยะที่ 3 (Infective Juveniles (IJs)) สามารถเข้าทำลายแมลงได้ ระยะตัวเต็มวัย มีทั้งสองเพศ

วงจรการเข้าทำลายแมลงของไส้เดือนฝอย 4.เมื่ออาหารในตัวแมลงหมดไส้เดือนฝอยระยะ 3 จะออกจากแมลงหาแหล่งอาหารใหม่ต่อไป 3.ไส้เดือนฝอยรุ่นที่ 2 จะเจริญเป็น ตัวเต็มวัย และขยายพันธุ์ 1.ไส้เดือนฝอยวัย 3 จะเข้าสู่ตัวแมลงตามช่องเปิด ปล่อยเชื้อแบคทีเรีย 2.แมลงอาศัยตายและไส้เดือนฝอย จะเจริญเป็นตัวเต็มวัย วางไข่ –ฟัก-เป็นตัวอ่อน วงจรการเข้าทำลายแมลงของไส้เดือนฝอย

การใช้ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมด้วงงวงมันเทศ

ใช้อัตรา 200 ล้านตัว/ไร่/ น้ำ 160 ลิตร พ่นทุก 15 วัน เริ่มพ่นเมื่อพืชอายุ 60 วัน

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมด้วงหมัดผัก ใช้อัตรา 50 ล้านตัว/น้ำ 20 ลิตร

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมหนอนด้วงกินรากหญ้า ใช้อัตรา 150 ล้านตัว/น้ำ 160 ลิตร/พื้นที่ 1 ไร่

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมด้วงกินรากสตรอเบอรี่

ใช้ อัตรา 160 ล้านตัว/ไร่ พ่นที่โคนต้นเมื่อพืชอายุ 30 และ 60 วัน

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมด้วงเจาะเห็ด ใช้อัตรา 50 ล้านตัว/น้ำ 20 ลิตร

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุม หนอนกินผิวเปลือกลองกอง

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมหนอนกระทู้ผัก

การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมหนอนเจาะฝักข้าวโพด

ผลิตภัณฑ์ไส้เดือนฝอยสูตรผงละลายน้ำของกรมวิชาการเกษตร

วิธีใช้ไส้เดือนฝอยในสูตรผงละลายน้ำ เตรียมน้ำสะอาดใส่ในถังที่จะผสม เทไส้เดือนฝอยรูปผงลงในถังน้ำ กวนให้ผงละลายในน้ำทั้งหมดแล้วจึงเทลงถังพ่นสาร ขณะพ่นควรเขย่าหรือกวนไม่ให้ตกตะกอน ปรับหัวฉีดให้เหมาะสม ใช้ไส้เดือนฝอยที่ผสมแล้วให้หมดในคราวเดียว

เทคนิคการใช้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ควรพ่นไส้เดือนฝอยในตอนเย็น ควรพ่นไส้เดือนฝอยในขณะที่แปลงปลูกพืชมีความชื้น หรือพ่นหลังการให้น้ำ เครื่องพ่นต้องอยู่ในสภาพที่เหมาะสม หัวฉีดไม่อุดตัน ขนาดรูหัวฉีดไม่ควรเล็กกว่า 1.2 มม. ผู้ใช้ต้องศึกษาวิธีการใช้ การเก็บรักษา และช่วงเวลาการใช้ให้ชัดเจน จึงจะได้ผลดี

ข้อดีของไส้เดือนฝอย ไส้เดือนฝอยมีพฤติกรรมในการค้นหาแมลงศัตรูพืชเป้าหมายเอง ไส้เดือนฝอยสามารถเข้าทำลายแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด ทำให้ตายภายในเวลาเพียง 48-72 ชั่วโมง ไม่มีพิษตกค้างในพืชผล และไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสภาพแวดล้อม

ไม่มีกลิ่นเหม็นและไม่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น คน สัตว์ พืชทุกชนิด ไส้เดือนฝอยมีความทนทานต่อสารฆ่าแมลงหลายชนิด และทนต่อแรงดันได้ถึง 300 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมแมลงศัตรูพืชเป็นทางหนึ่งที่ช่วยอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติที่มีประโยชน์ ข้อดีของไส้เดือนฝอย