เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 2)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
แรงดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า ในระบบ 3 เฟส
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE NU
แบบจำลองของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Modeling
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Electronics.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
Power Flow Calculation by using
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 2) Piyadanai Pachanapan, 303427 Power System Analysis, EE&CPE, NU

เนื้อหา การวิเคราะห์เสถียรภาพชั่วครู่ด้วยวิธี “Equal – Area Criterion” กรณีเพิ่มค่า Power Input กรณีฟอลต์ 3 เฟส การวิเคราะห์หาค่าเวลาวิกฤต (Critical Clearing Time) การแก้สมการการแกว่งด้วยระเบียบวิธีเชิงตัวเลข (Numerical Solution of Swing Equation)

การวิเคราะห์เสถียรภาพชั่วครู่ ด้วยวิธี Equal – Area Criterion (พื้นที่เท่ากัน) เสถียรภาพชั่วครู่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ; การเปลี่ยนแปลงโหลดขนาดใหญ่ทันทีทันใด การสูญเสียเครื่องกำเนิดไฟฟ้าไปอย่างกะทันหัน เกิดฟอลต์ขึ้นในระบบ โดยเฉพาะฟอลต์ 3 เฟส

การวิเคราะห์ด้วยวิธี Equal – Area Criterion สามารถใช้ทำนายในเรื่องเสถียรภาพได้อย่างรวดเร็ว เป็นการวิเคราะห์ด้วยรูปภาพ (Graphical) ซึ่งแสดงค่าพลังงานที่สะสมจากการหมุนในเครื่องจักร ในขณะเกิดการเปลี่ยนแปลงและหลังการเปลี่ยนแปลง ใช้วิเคราะห์ระบบที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 ตัวต่อกับบัสอนันต์ หรือ ระบบที่มีเครื่องจักร 2 ตัว

การวิเคราะห์ระบบที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากับบัสอนันต์ ด้วยวิธี Equal – Area Criterion กรณีไม่คิดผลการหน่วง สามารถเขียนสมการการแกว่งได้เป็น

ทำการคูณด้วย ทั้งสองข้าง ได้รูปสมการเป็น จาก ทำการคูณด้วย ทั้งสองข้าง ได้รูปสมการเป็น เขียนใหม่ อินทิเกรตทั้ง 2 ข้าง

สามารถเขียนสมการได้เป็น ถ้าระบบมีเสถียรภาพ ภายหลังเกิดการเปลี่ยนแปลง ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงต้องเท่ากับ ศูนย์

สภาวะสมดุล มุมกำลังมีค่าเท่ากับ สภาวะเริ่มต้นของการวิเคราะห์ (จุดตัด a)

เพิ่มกำลังอินพุต Pm0 เพิ่มมาเป็นค่า Pm1 ( Pm1 > Pe0 ) ค่ากำลังอัตราเร่ง, Pa มีค่าเป็น บวก (+) มุมกำลังเปลี่ยนจาก

พลังงานที่สะสมในโรเตอร์จากการเร่งแบบบวก เท่ากับ = พื้นที่ abc = พื้นที่ A1

เมื่อ จะทำให้ Pe = Pm1 (จุดตัด b) ที่จุด b ถึงแม้ Pa = 0, แต่โรเตอร์จะยังหมุนด้วยแรงเฉื่อย ส่งผลให้ และ Pe ยังเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ

= พื้นที่ bde = พื้นที่ A2 เมื่อโรเตอร์หมุนด้วยแรงเฉื่อยต่อไป จะส่งผลให้ Pm < Pe ค่ากำลังอัตราเร่ง, Pa มีค่าเป็น ลบ (-) โรเตอร์จะกลับมาหมุนที่ความเร็วซิงโครนัสอีกครั้ง ที่ พลังงานที่สะสมในโรเตอร์จากการเร่งแบบลบ เท่ากับ = พื้นที่ bde = พื้นที่ A2

การที่โรเตอร์แกว่งไปจุด b และ มุมกำลัง พบว่า เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า equal – area criterion มุมโรเตอร์จะมีการแกว่งกลับไป - มาอยู่ระหว่างมุม และ ด้วยความถี่ธรรมชาติ (natural frequency) แล้วมาหยุดที่มุม

การประยุกต์วิธี Equal – Area Criterion ในการวิเคราะห์เสถียรภาพกรณีกำลังอินพุต (Pm) เพิ่มขึ้น ระบบจะมีเสถียรภาพ ก็ต่อเมื่อ เพิ่มค่า Pm แล้ว พื้นที่ของ A2 ต้องไม่น้อยกว่าพื้นที่ของ A1 กรณี A2 < A1 , โมเมนตัมความเร่งไม่สามารถแกว่งเข้าสู่จุดทำงานได้ ส่งผลให้ระบบสูญเสียเสถียรภาพได้ ขีดจำกัดของเสถียรภาพ  A1 = A2

ขีดจำกัดของเสถียรภาพ เกิดขี้นเมื่อ ตัดกับกราฟ Pm (อยู่ระหว่างมุม 90o ถึง 180o)

ประยุกช์ใช้ equal – are criterion จะได้

ได้ผลการอินทิเกรต เป็น แทนค่า จะได้ (สมการไม่เป็นเชิงเส้น) Transient Stability Limit อยู่ที่ เมื่อ หาให้ได้

หาค่า ที่เหมาะสม โดยการแก้สมการ non - linear เขียนฟังก์ชันของมุม ได้เป็น ใช้วิธี Newton Raphson ในการแก้ปัญหา โดยกำหนดค่าเริ่มต้นให้อยู่ในในช่วง

วิธีการแก้ปัญหาด้วยวิธี Newton - Raphson หาจาก โดยที่

ทำการ iteration ในแต่ละครั้ง ได้เป็น จะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระดับความถูกต้องที่ต้องการ

ตัวอย่างที่ 1 ระบบไฟฟ้าดังรูป มีการจ่ายกำลังไฟฟ้าจริง 0.6 pu. ที่ค่า pf 0.8 lagging โดยที่ บัสอนันต์มีขนาด 1.0 pu.

จงวิเคราะห์หา ค่า Pm สูงสุด ที่สามารถเพิ่มได้ โดยที่ระบบไม่สูญเสียเสถียรภาพ 2. ในกรณีที่ค่า Pm เริ่มต้นเท่ากับ 0 จงหาค่า Pm ที่เพิ่มได้สูงสุด โดยระบบไม่เสียเสถียรภาพ (สมมติให้แรงดันไฟฟ้าภายในของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (E’) คงที่ตลอด ตามค่าในกรณีที่ 1) (Pm0 = 0)

จากวงจร ในสภาวะเริ่มต้น พบว่า : และ

กรณีที่ 1 : P0=0.6, E = 1.35, V = 1.0, X = 0.65 Initial power = 0.6000 p.u. Initial power angle 16.791 degree Sudden initial power 1.084 p.u. Total power for critical stability 1.684 p.u. Maximum angle swing 125.84 p.u. New operating angle 54.160 degree

กรณีที่ 2 : P0=0.0, E = 1.35, V = 1.0, X = 0.65 Initial power = 0.0000 p.u. Initial power angle 0.0000 degree Sudden initial power 1.505 p.u. Total power for critical stability Maximum angle swing 133.563 p.u. New operating angle 46.437 degree

การประยุกต์วิธี Equal – Area Criterion ในการวิเคราะห์เสถียรภาพกรณีฟอลต์ 3 เฟส กรณีที่ 1 : เกิดฟอลต์ที่ขั้วของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า กำหนดให้ : - Pm มีค่าคงที่ตลอด - ในภาวะปกติ เครื่องจักรทำงานที่ภาวะคงที่

กรณีที่ 1 : เกิดฟอลต์ที่ขั้วของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ไม่มีกำลังไฟฟ้าส่งผ่านไปที่บัสอนันต์ (ลงดินที่ขั้วด้านส่งหมด) ค่าความต้านทานสามารถตัดทิ้งได้ Pe ลดลงมาที่ค่าศูนย์ (ลดลงมาแตะที่แกน x ของกราฟ Power - Angle) Pm คงที่  Pm > Pe ส่งผลให้เกิด Pa แบบบวก  ความเร็วเพิ่มขึ้น  พลังงานจลน์ถูกสะสม  มุมกำลังเพิ่มขึ้น

ฟอลต์ถูกเคลียร์ที่มุม ส่งผลให้ระบบทำงานที่จุด e การที่ Pe > Pm ส่งผลให้ Pa เป็นค่าลบ (decelerating) พลังงานจลน์ที่สะสมไว้จะหมดไป ที่จุด f ของกราฟ พื้นที่ A1 = พื้นที่ A2

ที่จุด f ค่า Pe ยังมีค่ามากกว่า Pm ส่งผลให้โรเตอร์ถูกหน่วง  Pe ลดลงตามเส้นกราฟ Power – Angle ผ่านจุด e และ a มุมกำลังจะแกว่งไปมารอบๆ มุม ด้วยความถี่ธรรมชาติ หลังเคลียร์ฟอลต์แล้ว ถ้าระบบไม่สูญเสียเสถียรภาพ การทำงานจะกลับมาที่มุม

มุมเคลียร์ฟอลต์วิกฤต (Critical Clearing Angle) มุม ที่เพิ่มขึ้น แล้วทำให้พื้นที่ A2 เริ่มน้อยกว่าพื้นที่ A1 มุม คือ มุมที่ทำให้ A1 = A2 และ ตัดที่ส่วนโค้งของกราฟ ( จุด f )

ประยุกต์หลักการพื้นที่เท่ากัน พบว่า

แก้สมการ เพื่อหามุมวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ ได้เป็น สามารถหา เวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ (critical clearing time, tc) ได้จากการแก้สมการการแกว่ง (swing equation) โดยใช้รูปกราฟ วิเคราะห์ในขณะเกิดฟอลต์  Pe = 0 สมการการแกว่ง มีค่าเป็น

ทำการอินทิเกรตสมการ จะได้ อินทิเกรตอีกครั้ง จะได้ เนื่องจาก คือ มุมวิกฤต จะได้เวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ เป็น

กรณีที่ 2 : เกิดฟอลต์ที่ตำแหน่งอื่นๆ ในระบบ ที่ห่างจากขั้วส่ง (บัส 1) กำหนดให้ : - Pm มีค่าคงที่ตลอด - ในภาวะปกติ เครื่องจักรทำงานที่ภาวะคงที่

ค่ารีแอคแตนซ์ระหว่างบัส (X12) ถูกเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ขณะเกิดฟอลต์มีกำลังไฟฟ้าสามารถส่งผ่านไปอีกด้านได้ (กราฟ B) เมื่อเคลียร์ฟอลต์โดยการเปิด CB ที่ปลายสายทั้งสองด้าน (สายหายไป 1 เส้น) ส่งผลให้การส่งผ่านกำลังไฟฟ้าเป็นดังกราฟ C

During Fault ขณะเกิดฟอลต์ 3 เฟส จุดทำงานจะเลื่อนไปจุด b ของกราฟ B ส่งผลให้ Pm > Pe  Pa (+)  เกิดพลังงานจลน์สะสมในโรเตอร์  มุมกำลัง เพิ่มขึ้น

Fault Cleared เคลียร์ฟอลต์ที่มุม โดยการตัดสายที่เกิดฟอลต์ออกไป  จุดทำงานย้ายมาที่จุด e บนกราฟ C ส่งผลให้ Pm > Pe  Pa (-)  พลังงานจลน์สะสมในโรเตอร์จะถูกใช้จนเท่ากับ 0 ที่จุด f  มุมกำลัง เท่ากับ  พื้นที่ A1 = พื้นที่ A2

จากจุด f  Pe ยังมากกว่า Pm  โรเตอร์ยังคงหมุนต่อด้วยอัตราเร่งแบบหน่วง เพื่อให้ระบบกลับสู่จุดทำงานอีกครั้ง มุมโรเตอร์จะแกว่งกลับไป-มา อยู่รอบจุด e ที่ความถี่ธรรมชาติ จุดทำงานจุดใหม่ หลังจากเคลียร์ฟอลต์ จะเป็นจุดตัดของ Pm กับกราฟ C

มุมเคลียร์ฟอลต์วิกฤต (Critical Clearing Angle) มุม ที่เพิ่มขึ้น แล้วทำให้พื้นที่ A2 เริ่มน้อยกว่าพื้นที่ A1 มุม คือ มุมที่ทำให้ A1 = A2 และ ตัดที่ส่วนโค้งของกราฟ ( จุด f )

ประยุกต์หลักการพื้นที่เท่ากัน พบว่า จะได้

หา เวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ (critical clearing time, tc) ได้จากการแก้สมการการแกว่ง (swing equation)  เนื่องจากขณะเกิดฟอลต์ Pe ไม่เท่ากับ ศูนย์  สมการการแกว่งไม่เป็นเชิงเส้น  ไม่สามารถวิเคราะห์เวลาวิกฤติได้จากรูปกราฟ ต้องใช้กระบวนการเชิงตัวเลข (Numerical Solution) ในการวิเคราะห์

ตัวอย่างที่ 2 ระบบไฟฟ้า 60 Hz ลักษณะดังรูปโดยที่ค่ารีแอคแตนซ์เป็นค่า p.u. ที่ขึ้นกับค่าฐานของระบบ ซึ่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้ามีค่า H = 5 MJ/MVA และมีค่า Xd’ = 0.3 p.u. จ่ายกำลังไฟฟ้า Pe = 0.8 p.u. และ Q = 0.074 p.u. และแรงดันที่บัสอนันต์มีค่าเท่ากับ V = 1.0 p.u.

จงวิเคราะห์ในกรณีต่างๆ ดังต่อไปนี้ : เกิดฟอลต์ 3 เฟสที่ จุด F ที่ปลายด้านส่งของสายส่ง ซึ่งภายหลังจากเคลียร์ฟอลต์แล้ว สายส่งทั้งสองยังต่ออยู่กับระบบ จงหา มุมเคลียร์ฟอลต์วิกฤต และ เวลาเคลียร์ฟอลต์วิกฤต 2. เกิดฟอลต์ 3 เฟสที่จุดกึ่งกลางของสายส่งเส้นใดเส้นหนึ่ง โดยหลังจากเคลียร์ฟอลต์แล้ว สายเส้นนั้นจะถูกถอดออกไปจากระบบ จงหา ค่ามุมเคลียร์ฟอลต์วิกฤต

สภาวะเริ่มต้น (Initial Condition) ก่อนเกิดฟอลต์ กระแสที่ไหลไปที่บัสอนันต์ เท่ากับ รีแอคแตนซ์โอนย้ายระหว่างแรงดันไฟฟ้าภายในกับบัสอนันต์ เท่ากับ

แรงดันไฟฟ้าภายในชั่วครู่ เท่ากับ

กรณีที่ 1 : เกิดฟอลต์ที่จุด F และเคลียร์ฟอลต์โดยไม่มีการถอดสายส่ง สมการ power – angle เกิดและหลังเกิดฟอลต์ เท่ากับ จุด(มุม)ทำงานเริ่มต้น เท่ากับ

จากกราฟที่ได้ สามารถหา ได้จาก

ขณะเกิดฟอลต์ กำลังไฟฟ้าที่ส่งจ่ายได้เท่ากับศูนย์ หามุมเคลียร์ฟอลต์วิกฤต ได้จาก

มุมวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ เท่ากับ เวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ เท่ากับ = 0.26 วินาที

กรณีที่ 2 : เกิดฟอลต์ที่จุดกึ่งกลางสาย แล้วเคลียร์ฟอลต์โดยการเปิดวงจร สภาวะก่อนเกิดฟอลต์ พบว่า : โดยที่

ขณะเกิดฟอลต์ที่กึ่งกลางสายส่ง

แปลงวงจรจาก

จากการแปลง พบว่ารีแอคแตนซ์ระหว่างเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากับบัสอนันต์ เป็น สามารถหากราฟ Power – Angle ระหว่างเกิดฟอลต์ ได้เป็น

เคลียร์ฟอลต์โดยการเปิดวงจรที่ปลายแต่ละด้านของสายส่ง รีแอคแตนซ์ระหว่างเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากับบัสอนันต์ เท่ากับ

สามารถหาสมการ power – angle หลังเคลียร์ฟอลต์ ได้เป็น

หามุมวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ออกจากระบบ ได้จาก มุมเคลียร์ฟอลต์วิกฤต (Critical Clearing Angle) เท่ากับ

Initial Power Angle = 26.388 Maximum angle swing = 146.838 Critical Clearing angle = 98.834

โดยใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข การแก้สมการการแกว่ง โดยใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข NUMERICAL SOLUTION OF THE SWING EQUATION

ทำไมถึงต้องใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขแก้สมการการแกว่ง ?? เนื่องจากสมการการแกว่ง มีลักษณะไม่เป็นเชิงเส้น ลักษณะสมการเป็นสมการ ODE (Ordinary Differential Equation) สามารถใช้วิธีเชิงตัวเลขแก้สมการ ODE โดยใช้วิธีต่างๆ ดังนี้ Euler’s Method 2. Runge - Kutta

Euler’s Method พิจารณาสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง สามารถพิจารณาคำตอบได้จากกราฟ ดังต่อไปนี้

สามารถประมาณลักษณะกราฟที่เกิดขึ้น โดยใช้ค่า tangent ที่จุดต่างๆ กำหนดให้เวลาที่เพิ่มขึ้นทีละน้อย มีค่าเป็น ทำให้ได้การเพิ่มขึ้นของค่า x เท่ากับ ความชันของกราฟที่จุด (t0, x0) ค่าของ x ที่ค่าเวลา เท่ากับ รูปสมการเหมือนกรณีประยุกต์ใช้อนุกรมเทย์เลอร์ ในการกระจายค่า x รอบๆ จุด (t0, x0)

สามารถเขียนเป็นอัลกอริทึม สำหรับการคำนวณเพื่อหาค่า x ที่เวลาต่างๆ ได้เป็น สามารถหาคำตอบ x(t) จากจุดเริ่มต้น (t0, x0) ไปจุดสุดท้าย (tf, xf)

เพื่อความถูกต้องในการหาคำตอบให้มากขึ้น จะมีการเฉลี่ยค่าความชันของค่าเริ่ม และ ค่าที่อาจเกิดขึ้น (ค่าสุดท้าย) ในแต่ละขั้นการคำนวณ เรียกวิธีนี้ว่า “ Modified Euler’s Method” ค่าสุดท้ายในแต่ละขั้นการคำนวณ สามารถทำนายได้จาก (predicate value) หาความชันของค่าสุดท้ายในแต่ละขั้นการคำนวณ ได้เป็น (derivative of predicate value)

ค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลง จะทำให้การคำนวณถูกต้องมากขึ้น สามารถเขียนเป็นอัลกอริทึม สำหรับการคำนวณเพื่อหาค่า x ที่เวลาต่างๆ ได้เป็น

ข้อเสียของวิธี Euler มีความผิดพลาดเกิดขึ้น เนื่องจากการประมาณค่าเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ 2. ต้องเลือกให้ค่า ให้เหมาะสม ไม่จำเป็นว่าต้องเลือก น้อยเสมอไป เพราะจะทำให้จำนวนรอบมาก และถ้ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นในแต่ละรอบ จะทำให้ค่าผิดพลาดเมื่อสิ้นสุดการคำนวณมีค่ามาก

การประยุกต์ใช้ Euler’s Method กับสมการอนุพันธ์อันดับสูง วิเคราะห์โดยใช้สมการและตัวแปรสถานะ (State Equation & State Variables) จำนวนตัวแปรสถานะ ขึ้นอยู่กับจำนวนอันดับ (order) ของสมการ ตัวอย่าง กรณีสมการอนุพันธ์อันดับสอง วิเคราะห์ได้เป็น

จาก ค่าเริ่มต้น x0 และ ที่ t0 เขียนในรูปตัวแปรสถานะได้เป็น และ เขียนสมการอันดับสอง ในรูปสมการสถานะอันดับ 1 ได้เป็น

Numerical Solution of The Swing Equation ค่า Pm คงที่ และ Pm = Pe สภาวะคงที่ (เริ่มต้น) จะได้จุดทำงานที่มุม รีแอคแตนซ์ถ่ายโอน ก่อนเกิดฟอลต์ ความเร็วของโรเตอร์ คงที่ 

ขณะเกิดฟอลต์ 3 เฟส ที่กึ่งกลางสายส่ง พบว่า ; ( X2 มากขึ้น  พลังงานไฟฟ้าส่งผ่านน้อยลง) สมการการแกว่งที่เกิดขึ้น มีค่าเป็น

จากสมการการแกว่ง (สมการอันดับ 2) หาตัวแปรสถานะ ได้เป็น และ ประยุกต์ Modified Euler’s Method (predicted value)

(derivative predicate value) สามารถหาคำตอบจากการคำนวณแต่ละครั้ง (ขั้น) ได้จาก และ

ตัวอย่างที่ 3 จากตัวอย่างที่ 2 ในกรณีเกิด 3 เฟสฟอลต์ที่กึ่งกลางสาย แล้วทำการเคลียร์ฟอลต์โดยการเปิด CB ที่ปลายทั้ง 2 ด้านของสายส่ง (ที่เกิดฟอลต์)

จงวิเคราะห์เสถียรภาพ ดังต่อไปนี้ กรณีที่ 1 : วิเคราะห์เสถียรภาพของระบบ จากรูปคลื่นที่ได้จากสมการการแกว่ง เมื่อกำหนดให้มีการเคลียร์ฟอลต์ในเวลา 0.3 วินาที (กำหนดให้ และวิเคราะห์โดยใช้เวลาทั้งหมด 1 นาที) กรณีที่ 2 : วิเคราะห์เสถียรภาพของระบบ จากรูปคลื่นที่ได้จากสมการการแกว่ง เมื่อกำหนดให้มีการเคลียร์ฟอลต์ในเวลา 0.5 วินาที

สภาวะคงที่ก่อนเกิดฟอลต์ จากตัวอย่างที่ 2 พบว่า ;

เมื่อเกิดฟอลต์ที่กึ่งกลางสาย สมการ Power – Angle มีค่าเป็น สมการกำลังไฟฟ้าอัตราเร่ง เท่ากับ เขียนสมการการแกว่ง ได้เป็น

ประยุกต์ใช้ Modified Euler’s method ในการวิเคราะห์ ( ) STEP 1 ;

STEP 1 ( t1 = 0.01 ) ; หาค่า predicted value ได้เป็น

STEP 1 ( t1 = 0.01 ) ; หาความชันของค่าสุดท้ายในการคำนวณ step ที่ 1 ได้เป็น ;

STEP 1 ( t1 = 0.01 ) ; คำตอบของการคำนวณครั้งที่ 1 มีค่าเป็น

STEP 2 ;

STEP 2 ( t2 = 0.02 ) ; หาค่า predicted value ได้เป็น

STEP 2 ( t2 = 0.02 ) ; หาความชันของค่าสุดท้ายในการคำนวณ step ที่ 1 ได้เป็น ;

STEP 2 ( t2 = 0.02 ) ; คำตอบของการคำนวณครั้งที่ 2 มีค่าเป็น

เมื่อฟอลต์ถูกเคลียร์ สมการ Power – Angle มีค่าเป็น สมการกำลังไฟฟ้าอัตราเร่ง เท่ากับ เขียนสมการการแกว่ง ได้เป็น

tc = 0.3 วินาที

tc = 0.4 วินาที

tc = 0.5 วินาที

เมื่อทำการเคลียร์ฟอลต์ที่เวลาต่างๆกัน พบว่า ; เวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ (Critical Clearing Time)โดยที่ระบบไม่สูญเสียเสถียรภาพ คือ ที่เวลา 0.4 วินาที อุปกรณ์ป้องกันต้องทำงานเพื่อเปิดวงจรช้าที่สุด เป็นเวลาไม่เกิน 0.4 วินาที

สามารถใช้โปรแกรม SIMULINK ใน MatLab ในการวิเคราะห์ได้

การวิเคราะห์ในกรณีระบบมีเครื่องจักรหลายตัว หลักการวิเคราะห์คล้ายกับกรณีมีเครื่องจักร 1 ตัว ต่อกับบัสอนันต์ แต่เพื่อให้ง่ายในการวิเคราะห์ จะมีการสมมติค่าต่างๆ ให้ง่ายขึ้น ดังนี้ ; เครื่องจักรแต่ละตัวมีค่าแรงดันไฟฟ้าภายในคงที่ และ ไม่คิดผลของความเป็น Salient 2. ไม่มีการควบคุมกำลังไฟฟ้าขาเข้า (No Governor’s action) 3. โหลดที่ต่อกับบัสต่างๆ ถือว่าคงที่ และถูกแปลงออกมาเป็นค่าแอดมิตแตนซ์สมมูลลงกราวนด์

4. ไม่คิดกำลังไฟฟ้าหน่วง (Damping Powers) 5. มุมกำลังของเครื่องจักรแต่ละตัว คิดจากมุมเฟสของแรงดันไฟฟ้าภายในเครื่องจักรตัวนั้นๆ 6. เครื่องจักรหลายตัวที่ต่อขนานกันในแต่ละบัส (สถานี) จะถือว่ามีการแกว่งเกิดขึ้นพร้อมๆกัน เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “โคฮีเรนท์ (Coherent)” สามารถยุบเขียนเป็นเครื่องจักรสมมูลตัวเดียวได้ การสมมติค่าต่างๆ ให้ง่ายขึ้นนี้ เรียกว่า “Classical Stability Model” การวิเคราะห์จะอยู่ในรูปเมตริก ต้องใช้เครื่องคำนวณในกรณีที่ระบบมีขนาดใหญ่

ขั้นตอนการวิเคราะห์เสถียรภาพชั่วครู่ กรณีเครื่องจักรหลายตัว วิเคราะห์การไหลของกำลังไฟฟ้า (Load Flow) เพื่อหาค่าแรงดันบัสและมุมเฟส ในภาวะคงที่เริ่มต้น ซึ่งสามารถหากระแสได้เป็น [i = 1,2, … , m] เมื่อ m คือ จำนวนเครื่องจักร Vi คือ แรงดันบัส ของเครื่องจักร i Pi , Qi คือ กำลังไฟฟ้าจริงและกำลังไฟฟ้าจินตภาพของเครื่องจักร i

2. เมื่อไม่คิดความต้านทานอาร์เมเจอร์ แรงดันไฟฟ้าภายในเครื่องจักรแต่ละตัว เท่ากับ 3. โหลดที่ต่ออยู่กับแต่ละบัสบัส เขียนในรูปแอดมิตแตนซ์ต่อลงดิน

สามารถเขียนวงจรข่ายสมมูลของระบบ ที่ประกอบด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและวงจรข่ายสมมูลที่มีค่าโหลดทุกตัวเป็นแอดมิตแตนซ์ ดังรูป

สมการโนดแรงดันของวงจรข่าย เขียนในรูปเมตริกได้เป็น load bus gen bus

พิจารณาที่ Load Bus (บัส 1 ถึง n) พบว่าไม่มีกระแสเข้าหรือออก  I = 0 สามารถตัดบัสทิ้ง ด้วยวิธี korn เพื่อลดขนาดของเมตริกแอดมิตแตนซ์ ได้ จากสมการโนด พบว่า :

เขียนสมการกระแสที่ไหลจากเครื่องจักร ได้เป็น เมตริกแอดมิตแตนซ์ที่ถูกลดรูป จะหาได้จาก

กำลังไฟฟ้าที่ออกจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแต่ละตัว มีค่าเท่ากับ หรือ เมื่อ จะได้

กำหนดปริมาณต่างๆ ในรูปเชิงขั้ว ได้แก่ เขียนสมการกำลังไฟฟ้าที่ไหลออกจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าได้เป็น ในภาวะคงที่ ก่อนเกิดฟอลต์ ค่ากำลังทางกล (Pm) จะเท่ากับ กำลังทางไฟฟ้า (Pe) จะได้

Multi - machines Trnasient Stabilty วิเคราะห์เสถียรภาพกรณี 3 เฟส ฟอลต์ สมมติบัสที่เกิดฟอลต์ คือ บัส k  Vk = 0 เมตริกแอดมิตแตนซ์ (ก่อนเกิดฟอลต์) สามารถตัดบัสทิ้งขนาดเมตริกแอดมิตแตนซ์ขณะเกิดฟอลต์จะเล็กลงกว่าก่อนเกิดฟอลต์ Reduced by korn reduction แรงดันไฟฟ้าภายในเครื่องจักรแต่ละตัว สมมติให้ค่าคงที่ (เหมือนช่วงก่อนเกิดฟอลต์)

ค่ากำลังไฟฟ้าที่ออกจากเครื่องจักรจะเปลี่ยนไป อันเนื่องจากเมตริกแอดมิตแตนซ์มีการเปลี่ยนแปลง สมการการแกว่ง ของเครื่องจักร i มีค่าเป็น ในกรณีที่เครื่องจักรมีค่าพิกัด MVA ไม่ตรงกับค่าฐาน ต้องทำการปรับจาก

สามารถเขียนตัวแปรสถานะ เพื่อการวิเคราะห์เสถียรภาพของเครื่องจักรแต่ละตัวได้เป็น [ i = 1,…m ]

ภายหลังจากที่ทำการเคลียร์ฟอลต์ออกไป เมตริกแอดมิตแตนซ์จะถูกคำนวณใหม่อีกครั้ง เนื่องจากวงจรข่ายมีการเปลี่ยนแปลง ค่ากำลังไฟฟ้าที่ออกจากเครื่องจักรจะเปลี่ยนไป อันเนื่องจากเมตริกแอดมิตแตนซ์มีการเปลี่ยนแปลง สมการการแกว่ง และ ตัวแปรสถานะก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย

ตัวอย่างที่ 4 ระบบไฟฟ้าดังรูป กำหนดให้บัส 1 เป็นบัส อ้างอิง (Slack Bus) โดยค่าฐานของระบบ เท่ากับ 100 MVA

พารามิเตอร์ต่างๆ

กำหนดให้ เกิดฟอลต์ 3 เฟส ที่สายส่ง 5-6 บริเวณใกล้กับบัส 6 ซึ่งทำการเคลียร์ฟอลต์ออกไปโดยเปิดวงจรที่ปลายทั้ง 2 ด้านของสายส่ง จงวิเคราะห์เสถียรภาพชั่วครู่ (Transient Stability) ที่เกิดกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแต่ละตัว ในกรณีดังต่อไปนี้ ฟอลต์ถูกเคลียร์ที่เวลา 0.4 วินาที 2. ฟอลต์ถูกเคลียร์ที่เวลา 0.5 วินาที 3. หาเวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์

สภาวะคงที่ ก่อนเกิดฟอลต์ คำนวณหาการไหลของกำลังไฟฟ้า จากวิธี Newton - Raphson

2. หาเมตริกแอดมิตแตนซ์ [Y] ก่อนเกิดฟอลต์ 3. หาค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ในเครื่องจักรแต่ละตัวได้

ขณะเกิดฟอลต์ที่บัส 6 1. หาเมตริกแอดมิตแตนซ์ [Y] ขณะเกิดฟอลต์ 2. เกิดสมการการแกว่ง และสามารถใช้ตัวแปรสถานะมาวิเคราะห์ด้วยระเบียบวิธีเชิงตัวเลข สามารถวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรแต่ละตัวได้

ขณะเกิดฟอลต์โดยเปิดวงจรสายส่ง 5-6 1. หาเมตริกแอดมิตแตนซ์ [Y] ภายหลังเคลียร์ฟอลต์ 2. สมการการแกว่ง และสามารถใช้ตัวแปรสถานะจะเปลี่ยนแปลงจากตอนที่เกิดฟอลต์ สามารถใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรแต่ละตัวได้

กรณีเคลียร์ฟอลต์ที่เวลา 0.4 วินาที (วิเคราะห์เป็นเวลา 1.5 วินาที)

2. กรณีเคลียร์ฟอลต์ที่เวลา 0.5 วินาที (วิเคราะห์เป็นเวลา 1.5 วินาที)

3. หาเวลาวิกฤตในการเคลียร์ฟอลต์ โดยปรับค่าเวลาที่ใช้เคลียร์ฟอลต์ไปเรื่อยๆ ระหว่าง 0.4 ถึง 0.5 วินาที เวลา 0.45 วินาที (เวลาวิกฤต) เวลา 0.46 วินาที

END OF SECTION