ตัวแปรและการคำนวณ Variables and Calculation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 4 Method (1).
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Solution Explorer Properties Window Tool Box.
Operator of String Data Type
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
เกม คณิตคิดเร็ว.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
Array.
เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น
บทที่ 10 อาร์เรย์ (Array)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Object-Oriented Programming Paradigm
Abstract Class and Interface
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
Java Translation Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Method and Encapsulation
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Inheritance and Encapsulation
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
Variable Constant.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปรและการคำนวณ Variables and Calculation chapter02

ห้ามนำไปตั้งเป็นชื่อตัวแปร ค่าคงที่ Java keywords ห้ามนำไปตั้งเป็นชื่อตัวแปร ค่าคงที่

ในที่นี้ใช้เก็บ attribute / state ของ object ตัวแปร variable ในที่นี้ใช้เก็บ attribute / state ของ object เพื่อเก็บค่าในหน่วยความจำสำหรับประมวลผลระหว่าง โปรแกรมทำงาน ตัวแปรจะต้องมีการระบุชนิดของข้อมูลที่ต้องการเก็บ (ประเภทข้อมูล) เพื่อการจองเนื้อที่ในหน่วยความจำให้เหมาะสม

ประกาศ Variable Declaration กำหนดค่า Variable Initialization การสร้างตัวแปร ประกาศ Variable Declaration กำหนดค่า Variable Initialization ประกาศ รวม กำหนดค่า ในคราวเดียวกัน combination of declaration and intialization

Variable Declaration: int a,b,c; float pi; double d; char a;

Variable Initialization pi =3.14f; do =20.22 d; a=’v’;

combine variable declaration and initialization int a=2,b=4,c=6; float pi=3.14f; double do=20.22d; char a=’v’;

ประเภทตัวแปร Types of variables In Java, there are three types of variables: Local Variables Instance Variables Static Variables

1) Local Variables เป็นตัวแปรที่ประกาศไว้ภายใน method รวมถึงตัวแปรที่เป็น parameter 2) Instance Variables เป็นตัวแปรที่ประกาศโดยห้ามใช้คีย์เวิร์ด STATIC นำหน้า และต้องประกาศอยู่นอก method อาจเรียกตัวแปรประเภทนี้ว่า instance variables หรือ object variables

3) Static Variables เป็นตัวแปรที่กำหนดค่าแค่ครั้งเดียวตอนโปรแกรมเริ่มทำงาน (กำหนดค่าก่อน instance variable ตัวใดๆ)

Example: Types of Variables in Java class TypeOfVariable { int data = 99; //instance variable static int a = 1; //static variable void method() { int b = 90; //local variable }

จากคลาส Dog ตัวแปรที่ประกาศเป็น attribute เป็นประเภทใด?

Non-primitive Data Types

DATA TYPES MAP

เป็นชนิดข้อมูลที่กำหนดจากจาวามาล่วงหน้าแล้ว และเก็บค่าโดยตรง Primitive Data Types เป็นชนิดข้อมูลที่กำหนดจากจาวามาล่วงหน้าแล้ว และเก็บค่าโดยตรง มี 8 ชนิดคือ: byte, short, int, long, char, float, double, boolean

Integer byte (1 byte) short (2 bytes) int (4 bytes) long (8 bytes)

char Boolean boolean (1 byte) (true/false) float (4 bytes) Floating float (4 bytes) double (8 bytes) char char (2 bytes) Boolean boolean (1 byte) (true/false)

สรุป primitive

ค่าตัวเลขทุกตัวเป็นแบบมีเครื่องหมาย(+/-). Points to Remember: ค่าตัวเลขทุกตัวเป็นแบบมีเครื่องหมาย(+/-). ขนาดของจะเท่ากันทุก platforms (standardized) char data type จะใช้รหัส UNICODE character set

การเปลี่ยนชนิดข้อมูล type conversion Case 1) เปลี่ยนจากขนาดเล็กไปสู่ชนิดที่ใหญ่กว่า. โดยปกติจะถูกทำโดยอัตโนมัตเรียกว่า Conversion

Case 2) เปลี่ยนจากขนาดใหญ่ไปสู่ขนาดเล็ก ซึ่งโปรแกรมเมอร์ต้องกำหนดชนิด(type cast operator)ที่ต้องการแปลงเอง เรียกกระบวนการนี้ว่า Type Casting

workshop Type Casting typecasting.txt

Primitive wrapper class Wrapper class มีความสามารถเปลี่ยนชนิดข้อมูลจากprimitive เป็น object หรือจาก object เป็น primitive. primitive  object = autoboxing object  primitive = unboxing โดยในแต่ละคลาสจะมีเมธอดในการทำงานที่แตกต่างกันออกไป โดยส่วนมากแล้วเมธอดเหล่านั้นจะใช้กับข้อมูลทีเป็น string เป็นส่วนใหญ่

สรุป Primitive wrapper class

Primitive to Wrapper public class WrapperExample1{ public static void main(String args[]){ //Converting int into Integer int a=20; Integer i=Integer.valueOf(a);//converting int into Integer Integer j=a;//autoboxing, now compiler will write Integer.valueOf(a) internally System.out.println(a+" "+i+" "+j); }} Output: 20 20 20

Wrapper to Primitive public class WrapperExample2{ public static void main(String args[]){ //Converting Integer to int Integer a=new Integer(3); int i=a.intValue();//converting Integer to int int j=a;//unboxing, now compiler will write a.intValue() internally System.out.println(a+" "+i+" "+j); }} Output: 3 3 3

public class PrimitiveTypeClass { public static void main (String[] args) { // Convert from string System.out.println("Covert string to int = " + Integer.parseInt("15")); System.out.println("Covert string to short = " + Short.parseShort("15")); System.out.println("Covert string to long = " + Long.parseLong("15")); System.out.println("Covert string to float = " + Float.parseFloat("11.54f")); System.out.println("Covert string to double = " + Double.parseDouble("11.54")); // Convert to string System.out.println("Covert int to string = " + Integer.toString(10)); System.out.println("Covert int to base 16 = " + Integer.toHexString(10)); System.out.println("Covert int to base 8 = " + Integer.toOctalString(10)); System.out.println("Covert int to base 2 = " + Integer.toBinaryString(10)); }

ควรตั้งชื่อเป็นอักษรใหญ่ทั้งหมด Java Constants ควรตั้งชื่อเป็นอักษรใหญ่ทั้งหมด ควรมีคีย์เวิร์ด final และ static นำหน้า public class anyClass { static final int SIMPLE = 0, ONE_SPRING = 1, TWO_SPRING = 2; ... }

enum as constant สามารถประกาศ enum constant type ภายในหรือภายนอก class , interfaces.

special sequence characters

Non primitive data types เป็นชนิดของข้อมูลที่ใช้เก็บตำแหน่งของข้อมูล primitive ในหน่วยความจำที่เก็บแบบความซับซ้อน ใช้สำหรับสร้างตัวแปรที่เรียกว่า ตัวแปรอ้างอิง reference variable มี 3 ประเภทคือ Class ข้อมูลชนิดนี้มักใช้ชี้ object ในหน่วยความจำที่เกิดจากคลาส Interface ข้อมูลชนิดนี้มักใช้ชี้ object ในหน่วยความจำที่เกิดจากอินเทอร์เฟส Array ข้อมูลชนิดนี้มักใช้ชี้ชุดของข้อมูล primitive ที่เรียกว่า อาร์เรย์ array

Calculation and expression expression หมายถึงวลีที่บ่งบอกถึงการประมวลผลที่ต้องใช้ค่าข้อมูล ตัวแปร มากระทำกันด้วยเครื่องหมายคำนวณทางคณิตศาสตร์(arithematic operator) ทางความสัมพันธ์(relation operator) ทางตรรกะ(logic operator) หรือเป็นส่วนหนึ่งของการเรียก method สุดท้าย expression จะถูกประมวลผลได้ค่าๆหนึ่ง เช่น (a * 2), pi + (10 * 2) , 5% 3

คำสั่ง Statement Statements เป็นคำสั่งที่สมบูรณ์ อาจประกอบด้วยหลายๆ expression ต้องจบด้วย semi colon ; Expression อาจเป็นคำสั่งได้โดยเติม semi colon เช่น b + (a * 2);

เครื่องหมายคำนวณ Operators

Precedence of Expression Operators เช่น x = 5 + 3 + 8 * 9 + 6 * 4; // จะทำ คูณ ก่อนจากซ้ายไปขวาได้ผลลัพธ์ ได้ผลลัพธ์ของ 8*9 = 72 และ 6*4 = 24. ซึ่งในที่สุดexpression จะเหลือการคำนวณดังนี้ x = 5 + 3 + 72 + 24; ได้ผลลัพธ์เท่ากับ x=104;

Formatting with printf() Link to java format with printf() http://www.javawithus.com/tutorial/displaying-text-using-printf-method

สรุปการใช้ 3 step process - 1) ประกาศตัวแปร Array 2) สร้าง Array

ต.ย ประกาศตัวแปร Array <elementType>[] <arrayName>; int intArray[]; int [] intArray;

ต.ย สร้าง Array arrayname = new dataType[]; intArray = new int[10]; //ประกาศอาร์ int 10 อีเลเมนต์ Declaration and Construction combined int intArray[] = new int[10];

กำหนดค่าให้ Array [] = {}; int intArray[] = {1, 2, 3, 4};

class ArrayDemo{ public static void main(String args[]){ int array[] = new int[7]; for (int count=0;count<7;count++){ array[count]=count+1; } System.out.println("array["+count+"] = "+array[count]); //System.out.println("Length of Array = "+array.length); // array[8] =10;

Multidimensional arrays int twoD[ ][ ] = new int[4][5] ; public class MultiArray { public static void main(String[] args) { // Create 2-dimensional array. int[][] twoD = new int[4][4]; // Assign three elements in it. twoD[0][0] = 1; twoD[1][1] = 2; twoD[3][2] = 3; System.out.print(twoD[0][0] + " "); }

การทำงานของ method กับ attribute Class Atrribute1 Atrribute3 Atrribute2 Method1() Method3() Method2()

ลักษณะคำสั่งที่ใช้ในคลาส class คำสั่งประกาศตัวแปรเพื่อเก็บ state เท่านั้น Attribute /state Method/ action ได้ทุกคำสั่ง

Workshop for array Arraytest1.java