อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
Advertisements

1st Law of Thermodynamics
EEET0391 Electrical Engineering Lab.II Rev Introduction & PSPICE.
ประเด็นทางเทคนิคบางอย่างเกี่ยวกับพลังงาน
1.
หน่วย SI ของมวล คือ kilogram (kg) มวลของสสารคงที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
บทที่ 1: การวัด (Measurement)
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
บทที่ 2 การวัด 2.1 หน่วยเอสไอ(SI unit) 2.2 การแปลงหน่วย
อ. กิตติศักดิ์ โชติกิติพัฒน์. DataProcessInformation Text Voice Image Video etc Calculate Sum Sort Merge etc Text Voice Image Chart etc.
ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การทำตัวอักษรขึ้นต้นด้วย ตัวใหญ่ นางสาว ลลิตา เจริญผล
หน่วย ปริมาณทางฟิสิกส์ (Units, Physics Quantities
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส อาจารย์กนกพร บุญนวน.
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
Piyadanai Pachanapan, Electrical Instrument & Measurement, NU
การสูญเสียน้ำ.
Water and Water Activity I
การถ่ายเทพลังงาน โดย ดร.อรวรรณ ริ้วทอง :
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
หลักการวัดและการตรวจสอบเครื่องมือวัดอุณหภูมิโดยใช้ ice point
Physics4 s32204 ElectroMagnetic
776 วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 3 แผ่นที่ 3.1/11 กำลังไฟฟ้า
Chapter Objectives Chapter Outline
แก๊ส(Gas) สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว (ผลึกเหลว) แก็ส
สสารและสมบัติของสาร Witchuda Pasom.
ระบบหน่วยและมาตรฐานของการวัด System of Units & Standard of Measurements ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์
เครื่องวัดแบบชี้ค่าขนาดกระแสสลับ AC Indicating Ampere Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s.
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
Introduction to Chemistry
เหตุใดท้องฟ้าจึงเป็นสีฟ้าในเวลากลางวัน และเป็นสีดำในเวลากลางคืน
ความร้อน ความร้อน คือ รูปหนึ่งของพลังงาน เกิดจากการ
สารและสสาร.
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
งานและพลังงาน.
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ครูสมนึก แสงศรีจันทร์
ความยืดหยุ่น Elasticity
ชื่องานวิจัย Rotational dynamics with Tracker
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
แก๊ส (Gas) ปิติ ตรีสุกล โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
สมบัติเชิงกลของสสาร Mechanical Property of Matter
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
บทน ำและกำรวัด # 2 by P’Tum.
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
(ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546)
อาจารย์ปิยะพงษ์ ทวีพงษ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
วิชาวิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา วิศวกรรมพื้นฐาน 2 อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา Free Powerpoint Templates

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.1 มิติ(Dimension) คือ สิ่งที่ใช้บรรยายลักษณะทางกายภาพ เช่น ระยะทาง(Distance) มวล(mass) เวลา(Time) และ อุณหภูมิ(Temperature) มิติแบ่งออกเป็น 1) มิติปฐมภูมิ(Primary Dimension) 2) มิติทุติยภูมิ(Secondary Dimension)

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1) มิติปฐมภูมิ(Primary Dimension) หมายถึง มิติหลัก ที่เรากำหนดขึ้น เพื่อใช้บรรยายลักษณะ ทางกายภาพได้แก่ แรง [F] มวล [M] ความยาว [L] เวลา [t] อุณหภูมิ [T]

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย มวล[M] เป็นคุณสมบัติหนึ่งของวัตถุ ที่บ่งบอกปริมาณของสสารที่วัตถุนั้นมี จะมีค่าคงที่เสมอ ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด น้ำหนัก สามารถเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ตามแรงดึงดูด ของสถานที่นั้นๆ

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย ความยาว[L] คือมิติตามแนวยาวของวัตถุใดๆ ความยาวของของสิ่งหนึ่งคือระยะทาง(หรือการกระจัด) จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ซึ่งเป็นการขยายเชิงเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย เวลา[t] เป็นปริมาณพื้นฐาน ที่อาศัยการเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นๆ ที่มีการเคลื่อนที่แบบคงที่เพื่อบอกปริมาณ เช่น การโคจรของดวงอาทิตย์ หรือดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย อุณหภูมิ[T] คือการวัดค่าเฉลี่ยของพลังงานจลน์ของอนุภาคในสสารใดๆ ซึ่งสอดคล้องกับความร้อนหรือเย็นของสสารนั้น

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย แรง[F] คือการกระทำจากภายนอกที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบทางกายภาพ บางครั้ง แรง[F] ก็ถูกจัดให้อยู่ใน มิติทุติยภูมิ เนื่องจากกฏข้อที่สองของนิวตันที่กล่าวว่า ผลรวมของแรงจะเท่ากันมวลคูณความเร่ง (∑F = ma) ซึ่งจะเห็นว่าแรงเกิดจากการรวมกันของมิติปฐมภูมิและมิติทุติยภูมิ ในทางกลับกันบางระบบ ก็จัดให้มวล[M] เป็นมิติทุติยภูมิ ด้วยเหตุผลเดียวกัน

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 2) มิติทุติยภูมิ(Secondary Dimension) หมายถึง มิติ ที่ประกอบขึ้นจากการรวมกัน ของ มิติปฐมภูมิ เช่น พื้นที่ [L]2 ปริมาตร [L]3 ความเร็ว [L]/ [t] ความเร่ง [L]/ [t] 2

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย พื้นที่ [L]2 คือ ปริมาณสำหรับบอกขนาดของเนื้อที่ พื้นที่ผิว ประกอบด้วยมิติปฐมภูมิ 2 มิติ คือ ความยาว[L] x ความยาว[L] = พื้นที่ [L]2

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย ปริมาตร[L]3 หมายถึงความมากน้อยในปริภูมิสามมิติซึ่งวัสดุชนิดหนึ่งในสถานะใดๆ หรือ รูปทรงชนิดหนึ่งยึดถืออยู่หรือบรรจุอยู่ โดยประกอบด้วยมิติปฐมภูมิ 3 มิติ คือ ความยาว[L] x ความยาว[L] x ความยาว[L] = ปริมาตร [L]3

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย ความเร็ว [L]/ [t] คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งต่อหน่วยเวลา โดยประกอบด้วยมิติปฐมภูมิ 2 มิติ คือ ความยาว[L] / เวลา[t] = ความเร็ว [L]/ [t]

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.2 หน่วย(Unit) เป็นการกำหนด ชื่อและ ขนาดให้กับมิติ เพื่อบอกปริมาณ ที่วัดได้ ตามที่มาตรฐานของระบบต่างๆ ได้กำหนดไว้ 1.2.1 ระบบของหน่วย 1) ระบบอังกฤษ(British System) หรือ FPS มีใช้ในวงการวิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรม ของประเทศอังกฤษ และประเทศที่สัมพันธ์กับอังกฤษมาก่อน ปัจจุบันก็ยังมีใช้กันอยู่ในวงการอุตสาหกรรมทั่วไป

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.2.1 ระบบของหน่วย 2) ระบบเมตริก (Metric System) หรือ cgs เดิมมีใช้ในประเทศแถบยุโรป และเอเชียบางประเทศ เช่น ฝรั่งเศษ เยอรมัน อิตาลี สวีเดน ญี่ปุ่น หรือแม้แต่สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ปัจจุบันยังมีใช้กันอยู่ โดยเฉพาะทางด้านการค้า และอุตสาหกรรม แต่สำหรับด้านวิชาการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เปลี่ยนมาใช้ระบบหน่วยใหม่คือ SI กันอย่างกว้างขวางแล้ว

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.2.1 ระบบของหน่วย 3) ระบบ SI (International System of Units) เป็นระบบมาตรฐานระหว่างชาติที่วงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติต่างๆ หลายชาติ มีการประชุมตกลงกัน ที่จะใช้ระบบนี้ให้เหมือนกันหมด เพื่อประโยชน์ในการติดต่อประสานงานทั้งด้านวิชาการและเทคโนโลยี ระบบ SI นี้ มีการใช้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.2.2 หน่วยพื้นฐาน (Basic Units or Fundamental Units) จะเป็นหน่วยที่ใช้กำหนดชื่อและขนาด ให้กับปริมาณ ของ มิติปฐมภูมิ (Primary Dimension)

ตารางแสดงหน่วยพื้นฐานของระบบต่างๆ บทที่ 1 มิติ และ หน่วย ตารางแสดงหน่วยพื้นฐานของระบบต่างๆ ปริมาณ หน่วย SI หน่วยเมตริก หน่วยอังกฤษ ชื่อปริมาณ สัญลักษณ์ ชื่อหน่วย ความยาว (length) l เมตร (meter) m เซนติเมตร (centimeter) cm ฟุต (foot) ft มวล (mass) กิโลกรัม (kilogram) kg กรัม (gram) g ปอนด์ lb เวลา (time) t วินาที (second) s อุณหภูมิ อุณหพลวัต (temperature) T เคลวิน (kelvin) K แรงคิน (rankine) R จำนวนสาร n โมล (mole) mol กระแสไฟฟ้า I แอมแปร์ (ampere) A

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.2.3 หน่วยอนุพัทธ์ (derived Units) จะเป็นหน่วยที่ใช้กำหนดชื่อและขนาด ให้กับปริมาณ ของ มิติทุติยภูมิ (Secondary Dimension)

ตารางแสดงหน่วยอนุพัทธ์ของระบบต่างๆ บทที่ 1 มิติ และ หน่วย ตารางแสดงหน่วยอนุพัทธ์ของระบบต่างๆ ปริมาณ หน่วย SI หน่วยเมตริก หน่วยอังกฤษ ชื่อปริมาณ สัญลักษณ์ ชื่อหน่วย พื้นที่ (area) A ตารางเมตร (square meter) m2 ตารางเซนติเมตร (square centimeter) cm2 ตารางฟุต (square foot) ft2 ปริมาตร (volume) V ลูกบาศก์เมตร (cubic meter) m3 ลูกบาศก์เซนติเมตร (cubic centimeter) cm3 ลูกบาศก์ฟุต (cubic foot) ft3 ความหนาแน่น (density) ρ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3) กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (dyne/cm3) เพาน์ดัลต่อลูกบาศก์ฟุต (pdl/ft3) น้ำหนักจำเพาะ (specific weight) γ นิวตันต่อลูกบาศก์เมตร (N/m3) ไดน์ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cm3) ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต (lb/ft3)

ตารางแสดงหน่วยอนุพัทธ์ของระบบต่างๆ บทที่ 1 มิติ และ หน่วย ตารางแสดงหน่วยอนุพัทธ์ของระบบต่างๆ ปริมาณ หน่วย SI หน่วยเมตริก หน่วยอังกฤษ ชื่อปริมาณ สัญลักษณ์ ชื่อหน่วย น้ำหนักแรง (weight) W(F) นิวตัน (newton) N ไดน์ (dyne) dyne เพาน์ดัล (poundal) pdl ความดัน (pressure) P พาสคัล (pascal) Pa ไดน์ต่อตารางเซนติเมตร (dyne/cm2) เพาน์ดัลต่อตารางฟุต (pdl/ft2) ความเร็ว (velocity) v เมตรต่อวินาที (m/s) เซนติเมตรต่อวินาที (cm/s) ฟุตต่อวินาที (ft/s) งาน (work) W จูล (joule) J เอิร์ก (erg) erg ฟุตเพาน์ดัล (ft.ldl) พลังงาน (power) วัตต์ (watt) เอิร์กต่อวินาที erg/s ฟุต-ปอนด์ ต่อวินาที (ft.lbf/s)

บทที่ 1 มิติ และ หน่วย 1.2.4 คำอุปสรรคของหน่วย (Prefixes of Units) หมายถึงคำนำหน้าหน่วยต่างๆ ของระบบ SI เพื่อทำหน้าที่แทนตัวพหุคูณเพิ่มและลด (decimal multiples and sub-multiples) ใช้ได้กับทั้งหน่วยพื้นฐาน และหน่วยอนุพัทธ์ เช่น แรง = 8 x 103 N = 8 kN อ่านว่า แปดกิโลนิวตัน 103 ในที่นี้คือตัวพหุคูณ ใช้สัญลักษณ์ k แทน เป็นคำอุปสรรคหน้าหน่วย คำอุปสรรคนี้ใช้กับหน่วยเมตริกที่คล้ายกับหน่วย SI ได้ แต่จะไม่ใช้กับหน่วยอังกฤษ

คำอุปสรรคที่แทนตัวพหุคูณสำหรับหน่วย SI บทที่ 1 มิติ และ หน่วย คำอุปสรรคที่แทนตัวพหุคูณสำหรับหน่วย SI ตัวพหุคูณ ชื่อคำอุปสรรค สัญลักษณ์ 1018 เอกซะ (exa) E 1015 เพตะ (peta) P 1012 เทระ (tera) T 109 จิกะ (giga) G 106 เมกะ (mega) M 103 กิโล (kilo) k 102 เฮกโต (hecto) h 10 เดคา (deca) da

คำอุปสรรคที่แทนตัวพหุคูณสำหรับหน่วย SI บทที่ 1 มิติ และ หน่วย คำอุปสรรคที่แทนตัวพหุคูณสำหรับหน่วย SI ตัวพหุคูณ ชื่อคำอุปสรรค สัญลักษณ์ 10-1 เดซิ (deci) d 10-2 เซนติ (centi) c 10-3 มิลลิ (milli) m 10-6 ไมโคร (micro) µ 10-9 นาโน (nano) n 10-12 พิโก (pico) P 10-15 เฟมโต (femto) f 10-18 อัตโต (atto) a

สอบย่อย บทที่ 1 มิติ และ หน่วย สอบย่อย บทที่ 1 มิติ และ หน่วย เสาสูง 15 m เท่ากับกี่ ft โต๊ะ ยาว 150 mm. เท่ากับ กี่ m น้ำ 30 m3 เท่ากับกี่ ft3 ห้องมีพื้นที่ 580 ft2 เท่ากับกี่ m2 Pump สูบน้ำ มีอัตราการไหล 10 m3/min เท่ากับกี่ ft3/s และเท่ากับกี่ gpm. รถวิ่งด้วยความเร็ว 20 m/s เท่ากับ กี่ km/hr แรงดัน 4 atm. เท่ากับ กี่ mm.Hg. แรงดัน 50 psi เท่ากับกี่ kPa 4 kw. เท่ากับกี่ J/sec(watt) เครื่องยนต์ทำงานได้ 3x10 6 ft-b/sec เท่ากับกี่ แรงม้า