งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) ก.พ.-มี.ค. 60 เม.ย. 60 พ.ค. 60 ก.ย. 60 27-28เม.ย. 61 มิ.ย.-ส.ค. 61 ก.ย. 61 จัดกิจกรรม We are one we are NRRU เสนอกรอบทิศทางการพัฒนา ต่อที่ประชุม กบ. เสนอร่างแผนฯ ต่อที่ประชุม กบ. เสนอร่างแผนฯ ต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ (ประธานคณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ ให้นำกลับไปทบทวนวิสัยทัศน์ และจุดเน้นการพัฒนา) เสนอร่างแผนฯ ต่อที่ประชุม แม่น้ำห้าสาย ปรับปรุงกรอบยุทธศาสตร์เสนอต่อที่ประชุม กบ. และการประชุมผู้บริหารคณะ/หน่วยงาน (20-21 ส.ค.61) - เสนอร่างแผนฯ ต่อสภา - จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ระยะปานกลาง NRRU

2 งบบูรณาการ คือ ??? NRRU

3 ทำไมต้อง บูรณาการ ? “ลดเวลา ลดคน ลดค่าใช้จ่าย”
ลดการซ้ำซ้อนในการจัดสรร และใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ “ลดเวลา ลดคน ลดค่าใช้จ่าย” “ มีเป้าหมาย เดียวกัน เพื่อพัฒนาประเทศ” SCI_NNRU SCI_ NRRU

4 ทำไม ต้อง ทำงบบูรณาการ ?
ทำไม ต้อง ทำงบบูรณาการ ? “งบ Function ลดลง และ รัฐบาลใช้ กลไกงบบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมาย ในการพัฒนาประเทศ” SCI_N NRRU

5 ทำไม NRRU ต้อง ทำงบบูรณาการ ?
“งบบูรณาการ จะเป็น Indicator ตัวหนึ่งที่ จะบอกว่า.... ประเทศนี้ ต้องการ NRRU หรือไม่” NRRU

6 ผม/ดิฉัน ทำ งบบูรณาการ ไปเพื่อ อะไร ? ผม/ดิฉัน จะ ได้อะไร จากการทำ
งบบูรณาการ ? SCI_NNRU SCI_ NRRU

7 ตอบโจทย์ ประเทศ ตอบโจทย์ พื้นที่ ตอบโจทย์ LRU Agenda Area Function AF
FA 2 Integrated Budget = FA 2 ตอบโจทย์ ประเทศ ตอบโจทย์ พื้นที่ ตอบโจทย์ LRU For Actual Achievement

8

9 เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
NRRU

10 NRRU

11 NRRU

12 NRRU

13 NRRU

14 NRRU

15 NRRU

16 (ร่าง)กรอบยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ระยะ 20 ปี (พ. ศ
(ร่าง)กรอบยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ระยะ 20 ปี (พ.ศ )

17 แบ่งเป็นแผนพัฒนาระยะปานกลาง 4 ระยะ
วิสัยทัศน์ : เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำด้านการผลิตครูและการพัฒนาท้องถิ่น ภายในปี 2567 ตัวชี้วัดการบรรลุวิสัยทัศน์ 1) ได้รับการจัดอันดับสถาบันการผลิตครู 1 ใน 5 ของประเทศ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2) เกิดนวัตกรรม หรือผลงานวิจัยที่ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน จังหวัดนครราชสีมา อย่างน้อย 2 เรื่อง ต่อปี 3) เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเอง อย่างยั่งยืน ที่มีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการร่วมพัฒนา อย่างน้อย 2 ชุมชนต่อแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี แผนยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ระยะที่ 1 แบ่งเป็นแผนพัฒนาระยะปานกลาง 4 ระยะ ระยะที่ 2 (พ.ศ ) ระยะที่ 4 ระยะที่ 3 (พ.ศ ) (พ.ศ ) NRRU

18 เส้นทางการพัฒนา Green and Smart University 2577-2581
ผู้นำการพัฒนาท้องถิ่น สถาบันชั้นนำการผลิตครู ยกระดับมาตรฐาน

19 ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครรราชสีมา 2562-2581
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน

20 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพการศึกษา
1. การบริหารหลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดความคุ้มค่า 2. บัณฑิตมีทักษะในศตวรรษที่ 21 และเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ 3. บัณฑิตมีงานทำและสามารถสร้างงานได้ด้วยตนเอง เป้าประสงค์ 1. ร้อยละของหลักสูตรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพ (100.00) 2. ร้อยละของหลักสูตรที่มีผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน การใช้จ่ายงบประมาณ (80.00) 3. ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบด้านภาษาอังกฤษ (50.00) 4. ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (80.00) 5. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต (4.15) 6. ร้อยละของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (40.00) 7. ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ (40.00) 8. ร้อยละของอาจารย์ที่สอบผ่านมาตรฐานด้านภาษาอังกฤษ (60.00) ตัวชี้วัด/เป้าหมาย กลยุทธ์ 1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารหลักสูตร 1.2 เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันของบัณฑิต 1.3 พัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1.4 สร้างเครือข่ายศิษย์เก่า 1.5 เพิ่มสมรรถนะอาจารย์ โครงการหลัก 1.1.1 โครงการวิเคราะห์ภาระงาน และ กำหนดจุดเน้นการพัฒนาของหลักสูตร 1.1.2 โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหาร หลักสูตร 1.1.3 โครงการปรับปรุงระบบการรับ นักศึกษา 1.1.4 โครงการพัฒนาเครือข่ายการผลิต บัณฑิต 1.2.1 โครงการพัฒนาทักษะทางวิชาการและ วิชาชีพนักศึกษา 1.2.2 โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ นักศึกษา 1.2.3 โครงการพัฒนาสมรรถนะเชิงนวัตกรรม 1.2.4 โครงการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิต 1.2.5 โครงการสหกิจศึกษา 1.2.6 โครงการเตรียมความพร้อม ก่อนสอบแข่งขันเข้าทำงาน 1.3.1 โครงการพัฒนาสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1.3.2 โครงการจัดตั้งศูนย์ฝึกธุรกิจจำลอง 1.3.3 โครงการก่อสร้างหอพักนักศึกษา 1.4.1 โครงการพัฒนาสมาคม ศิษย์เก่า 1.5.1 โครงการพัฒนาอาจารย์ มืออาชีพ 1.5.2 โครงการพัฒนาคุณวุฒิอาจารย์ 1.5.3 โครงการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ 1.5.4 โครงการอบรมเพิ่มทักษะ ภาษาอังกฤษ 1.5.5 โครงการอบรมการใช้งานเทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อการเรียนการสอนและ การสร้างสื่อ และนวัตกรรมการศึกษา

21 มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561
ครอบคลุมมาตรฐานการอุดมศึกษา 5 ด้าน ผลลัพธ์ของผู้เรียน =เป็นคนมีความรอบรู้ความสามารถ การวิจัยและนวัตกรรม การบริการวิชาแก่สังคม ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย การบริหารจัดการ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีลักษณะเป็นคนไทยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน

22 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

23 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

24 ด้านการวิจัยและนวัตกรรม
สถาบันอุดมศึกษามีผลงานวิจัยที่เป็นการสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ สร้างสรรค์ นวัตกรรมหรือทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน มีเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง สถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ การสร้างคุณภาพชีวิต หรือการสร้างโอกาส มูลค่าเพิ่ม และขีดความสามารถของประเทศในการแข่งขันระดับนานาชาติ

25 การบริการวิชาแก่สังคม
สถาบันอุดมศึกษาให้บริการวิชาการเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและตอบสนองความต้องการ ของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ตามระดับความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน โดยมี การบริหารจัดการที่ประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในและ ต่างประเทศ และมีความโปร่งใส ชัดเจน และตรวจสอบได้ ผลลัพธ์ของการบริการวิชาการน าไปสู่ การเสริมสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

26 ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
สถาบันอุดมศึกษามีการจัดการเรียนรู้ การวิจัย หรือการบริการวิชาการซึ่งน าไปสู่การสืบสาน การสรางความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรมทั้งของไทย และต่างประเทศอย่างเหมาะสม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน ผลลัพธ์ของ การจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมทำให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หรือการสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่ม ให้กับผู้เรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

27 การบริหารจัดการ สถาบันอุดมศึกษา
มีหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน แบบบูรณาการเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติและความต้องการ ที่หลากหลายของประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน สังคม สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มีการบริหารงานตามพันธกิจและวิสัยทัศน์ของสถาบันอุดมศึกษา ตลอดจนมีการบริหารจัดการบุคลากรและทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล คำนึงถึง ความหลากหลายและความเป็นอิสระทางวิชาการ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยืดหยุ่นคล่องตัว โปร่งใสและตรวจสอบได้

28 การบริหารจัดการ สถาบันอุดมศึกษา
(3) มีระบบประกันคุณภาพ มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และพัฒนาการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบันที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการกำกับให้การจัดการศึกษาและการด าเนินงานตามพันธกิจเป็นไปตามกฎกระทรวงการประกัน คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานอื่น ๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการก าหนด

29 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครู
1. บัณฑิตครูได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีคุณลักษณะ “ครูของพระราชา” 2. มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นสถาบันการผลิตครูในลำดับ 1 ถึง 5 ของประเทศ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาในท้องถิ่นได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนและหรือได้รับการเลื่อนวิทยฐานะ เป้าประสงค์ 1. ร้อยละของบัณฑิตที่สอบผ่านมาตรฐานใบประกอบวิชาชีพ (80.00) 2. ร้อยละของบัณฑิตครูที่ได้งานทำสอดคล้องกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา (90.00) 3. คะแนนประเมินคุณลักษณะ “ครูของพระราชา” (4.50 จากคะแนนเต็ม 5) 4. ผลการจัดอันดับสถาบันการผลิตครู (1 ใน 5 ของประเทศ) 5. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในท้องถิ่น (ระดับ 5 จาก 5 ระดับ) ตัวชี้วัด/เป้าหมาย กลยุทธ์ 2.1 ปรับปรุงระบบและกลไก การผลิตครู 2.2 สร้างครูของพระราชา 2.3 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.4 สร้างนวัตกรรมทางการศึกษาการผลิตและพัฒนาครู โครงการหลัก 2.1.1 โครงการพัฒนาหลักสูตร การผลิตครู 2.1.2 โครงการปรับปรุงระบบและกลไก การควบคุมคุณภาพการผลิตครู 2.1.3 โครงการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์ (ครูของครู) 2.1.4 โครงการพัฒนาโรงเรียน ร่วมพัฒนา วิชาชีพครู 2.1.5 โครงการพัฒนาโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2.2.1 โครงการสร้างแรงบันดาลใจการเป็นครู 2.2.2 โครงการเรียนรู้หน้าที่ครู 2.2.3 โครงการพัฒนาทักษะทางวิชาการ นักศึกษาครู 2.2.4 โครงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2.2.5 โครงการพัฒนาคุณลักษณะ ครูของ พระราชา 2.2.6 โครงการอบรมเตรียมความพร้อม ก่อนสอบบรรจุ 2.3.1 โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษา เป็นพี่เลี้ยง (U_School Mentoring) 2.3.2 โครงการอบรมต่อยอดงานวิจัยและ ขยายผลการสร้างชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) 2.3.3 โครงการยกระดับวิทยฐานะครู 2.4.1 โครงการพัฒนางานวิจัยและ นวัตกรรมทางการศึกษา 2.4.2 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูล งานวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา

30

31 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาท้องถิ่น
1. ชุมชนท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 2. ชุมชนและสังคมมีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน 3. ชุมชนท้องถิ่นสามารถอนุรักษ์ฟื้นฟูส่งเสริมการพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ท้องถิ่นโคราชได้อย่างเหมาะสม เป้าประสงค์ 1. ร้อยละผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น (40.00) 2. จำนวนโครงการบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจ (ปีละ 12 โครงการ) 3. จำนวนชุมชนต้นแบบที่ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ปีละ 1 ชุมชน) 4. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชน (ระดับ 5 จาก 5 ระดับ) 5. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอนุรักษ์ฟื้นฟูส่งเสริม การพัฒนาศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ท้องถิ่นโคราช (ระดับ 5 จาก 5 ระดับ) ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 3.1 การจัดทำแผนบูรณาการ พัฒนาท้องถิ่น 3.2 ยกระดับเศรษฐกิจท้องถิ่นด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.3 การพัฒนาสังคม สาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.4 การอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.5 การติดตามประเมินผล และการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานการพัฒนาท้องถิ่น กลยุทธ์ 3.1.1 โครงการจัดทำ ฐานข้อมูลปัญหาและ ความต้องการของชุมชน 3.1.2 โครงการจัดทำแผน บูรณาการการพัฒนา ท้องถิ่น มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา 3.2.1 โครงการพัฒนาด้านการเกษตรและอาหาร ปลอดภัย 3.2.2 โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน, OTOP, SMEs 3.2.3 โครงการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวและบริการ 3.2.4 โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจ พอเพียง 3.2.5 โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เพื่อการใช้ชีวิต อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างมีความสุข (100 ไร่) 3.2.6 โครงการพัฒนาอุทยานธรณีโคราช (Korat Geopark) 3.3.1 โครงการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 3.3.2 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนหมู่บ้านเร่งรัด พัฒนา 3.3.3 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3.3.4 โครงการ NRRU CSR 3.3.5 โครงการพัฒนาสุขภาพชุมชน 3.3.6 โครงการสืบสานประเพณีเพื่อการอนุรักษ์ สืบสาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาพื้นถิ่นโคราช 3.3.7 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทางศิลปวัฒนธรรม 3.3.8 โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่สังคมไทยและสังคมโลก 3.4.1 โครงการสร้างการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 3.4.2 โครงการชุมชนต้นแบบด้านการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการขยะ 3.4.3 โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช 3.5.1 โครงการพัฒนาระบบติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่น 3.5.2 โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3.5.3 โครงการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานด้านการพัฒนาท้องถิ่น โครงการหลัก

32 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน
1. บุคลากรมีศักยภาพ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ และมีความสุขในการทำงาน 2. มหาวิทยาลัยสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังได้อย่างมั่นคง 3. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป้าประสงค์ 1. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา (90.00) 2. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (4.00 จากคะแนนเต็ม 5) 3. ร้อยละของบุคลากรที่มีความสุขในระดับมาก ถึงมากที่สุด (80.00) 4. ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ แผ่นดิน (96.00) 5. ร้อยละของรายได้จากการจัดหา ผลประโยชน์ ที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ ต่อปี) 6. คะแนนประเมินตามเกณฑ์ UI GreenMetric 7. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาและบุคลากร ต่อสภาพแวดล้อมมหาวิทยาลัย (4.00 จากคะแนนเต็ม 5) 8. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาและบุคลากร ต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย (4.00 จากคะแนนเต็ม 5) ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 4.1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารงานบุคคล 4.2 ปฏิรูประบบงบประมาณ การเงิน การคลัง และพัสดุ 4.3 เพิ่มความสามารถ ในการจัดหารายได้ 4.4 การพัฒนาสู่ Green University 4.5 การพัฒนาสู่ Smart University กลยุทธ์ 4.1.1 โครงการวิเคราะห์การจัดตั้งหรือยุบเลิกหน่วยงาน 4.1.2 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4.1.3 โครงการเสริมสร้างธรรมา ภิบาลแก่ผู้บริหารและบุคลากร 4.1.4 โครงการพัฒนาบุคลากร 4.1.5 โครงการ Happy work place 4.2.1 โครงการพัฒนาระบบงบประมาณ การเงิน การคลัง และพัสดุมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4.2.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ 4.3.1 โครงการจัดหารายได้จากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย 4.3.2 โครงการสร้างเครือข่ายการจัดหารายได้ 4.3.3 โครงการจัดตั้งกองทุนพัฒนามหาวิทยาลัย (Endowment Fund) 4.4.1 โครงการปรับปรุงผังแม่บท มหาวิทยาลัย 4.4.2 โครงการก่อสร้างอาคารจอดรถ 4.4.3 โครงการปรับปรุงระบบจราจร 4.4.4 โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 4.4.5 โครงการอนุรักษ์พลังงาน 4.4.6 โครงการ Zero Waste Society 4.5.1 โครงการปรับปรุงระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 4.5.2 โครงการปรับปรุงระบบ รักษาความปลอดภัย 4.5.3 โครงการประชาสัมพันธ์ เชิงรุก โครงการหลัก

33 ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยกับแผนพัฒนาประเทศ
ย.2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ย.3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ย.๔ การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ย.5 การสร้างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ย.6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ 6. ด้านเศรษฐกิจ 5. ด้านการศึกษา 8. ด้านสาธารณสุข 10.ด้านสังคม 7. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 11. ด้านพลังงาน 2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 9. ด้านสื่อสารมวลชนเทคโนโลยีสารสนเทศ ย.3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ย.7 การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและระบบโลจิสติก ย.8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ย.9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ย.1 เสริมสร้างและ พัฒนาศักยภาพมนุษย์ ย.2 การสร้างความ เป็นธรรมและลด ความเหลื่อมล้ำในสังคม แผนพัฒนาเศรฐกิจ ฉ.12 ย.4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 9. ด้านสื่อสารมวลชนเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ย.1 บริหารจัดการน้ำให้เพียงพอต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจ ย.4 พัฒนาการท่องเที่ยงเชิงบูรณาการ ย.2 การแก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้มีรายได้น้อย ย.3 การแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ย.1 การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันเกษตรอุตสาหกรรมและแปรรูป ย.2 การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ไหม ย.3 การพัฒนาการค้า การลงทุน และการค้าชายแดน ย.4 ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ย.๔ ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์ จ. นม. ย.1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ย.2 ยกระดับสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ย.2 ยกระดับสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ย.3 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ย.๕ การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ ม.ราชภัฏ 20 ปี ย.1 การพัฒนาท้องถิ่น ย.2 ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครู ย.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษา ย.1 การพัฒนาท้องถิ่น ย.1 การพัฒนาท้องถิ่น ย.4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

34 ประเด็นนำเสนอต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ
1. การกำหนดวิสัยทัศน์ 2. ตัวชี้วัดการบรรลุวิสัยทัศน์ 3. เส้นทางการพัฒนา 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ 5. เป้าประสงค์ และตัวชี้วัด NRRU

35 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google