งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
เชาวลิต ทองอินทร์ 20 เม.ย. 2560

2 การจัดสรรงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ๙๔,๑๖๘,๗๘๐.๐๐ บาท ( ๒๐ บาท) งบ OP-ทั่วไป วงเงิน ๔๑,๐๔๐,๙๕๐.๐๐ บาท (๑๐ บ./ปชก.UC) งบ PP – จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ วงเงิน ๕๓,๑๒๗,๘๓๐.๐๐ บาท (๑๐ บ./ปชก.ไทยทุกสิทธิ ) เพิ่มประเด็น พิจารณาตามผลงานบริการ กรณีที่ไม่มีผลงาน ไม่ได้รับการจัดสรรงบ โดยจ่าย ให้กับหน่วยบริการประจำ รวมทั้งหน่วยบริการ /สถานบริการที่ให้บริการระดับปฐมภูมิ ทั้งในสังกัดภาครัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน 2) การจ่ายให้หน่วยบริการ 2.1) สปสช.เขตนำผลงานตามคะแนนตัวชี้วัดของหน่วยบริการประจำ รวมทั้งหน่วยบริการ / สถานบริการที่ให้บริการระดับปฐมภูมิทั้งหมดภายในเขต มาคำนวณคะแนนและคำนวณจ่ายตามหลักเกณฑ์การ จ่ายค่าใช้จ่ายที่ผ่านความเห็นชอบของ อปสข. 2.2) หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการ หรือสถานบริการสามารถนำงบที่ได้รับไปใช้เพื่อ ดำเนินการจัดบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ มาตรฐานตามแนวคิดการพัฒนาตัวชี้วัด QOF และหรือดำเนินการให้เกิด การเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพในพื้นที่และหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบภายใต้ระเบียบทางการเงินของหน่วย บริการ/สถานบริการนั้นๆ และสามารถนำงบนี้ไปพัฒนาให้มีทีมหมอครอบครัว รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินงาน ของทีมหมอครอบครัว วงเงินแบบ Global ระดับเขต คำนวณงบ จากจำนวนประชากร เป็นรายเขตตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จ่ายตามผลงานตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการ จ่ายให้หน่วยบริการประจำ และเครือข่ายหน่วยบริการ โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเสนอ อปสข.พิจารณา

3 ตัวชี้วัดงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
ตัวชี้วัดระดับเขต (๓ ตัว) ตาม Health needs ในพื้นที่ โดยกลไกการมีส่วนร่วม และ เสนอ อปสข. เห็นชอบ ตัวชี้วัดกลาง (๖ ตัว) KPI บูรณาการ สปสช. กสธ. สสส. ใช้หลักเกณฑ์การคัดเลือกตัวชี้วัด

4 ช่วงเวลาการนำข้อมูลมาใช้ แหล่งข้อมูล
ช่วงเวลาการนำข้อมูลมาใช้ แหล่งข้อมูล ช่วงเวลาการนำข้อมูลมาใช้ ๑) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓,๔ ปี ๕๙ และไตรมาส ๑, ๒ ปี ๖๐ แหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ ๑) สปสช. ข้อมูล OP-PP individual, OP e-claim และผู้ป่วยใน (IP e-claim) ๒) สสจ. ข้อมูลจาก HDC (Health data center) การจัดสรรแบ่งเป็น 2 งวด คือ ครั้งที่ ๑: เดือน ม.ค. ๖๐ ครั้ง ที่ ๒: เดือน ก.ค. ๖๐

5 เกณฑ์การจัดสรร (วงเงิน ๙๔,๑๖๘,๗๘๐.๐๐ บาท )
เกณฑ์การจัดสรร (วงเงิน ๙๔,๑๖๘,๗๘๐.๐๐ บาท ) ลำดับ ตัวชี้วัด น้ำหนักการจัดสรร วงเงิน ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน ๑๐ % ๙,๔๑๖,๘๗๘ ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ๓๐-๖๐ ปีภายใน ๕ ปี ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) (COPD) (Asthma) (Diabetes Mellitus) และความดันโลหิตสูง (Hypertension) ๑๕ % ๑๔,๑๒๕,๓๑๗ ร้อยละความถูกต้องของข้อมูลคุณภาพบริการใน ๔๓ แฟ้ม ร้อยละการติดตามประชาชน ๖ กลุ่มเป้าหมายใน long term care เขตสุขภาพที่ ๑ ร้อยละการติดตามเด็กในกลุ่มอายุ ๙- ๑๘-๓๐- ๔๒ เดือน ที่มีปัญหา พัฒนาการล่าช้า

6 การจัดสรรงวดที่ ๑ วงเงินร้อยละ ๕๐ เฉพาะตัวชี้วัดที่ ๓ และ ๕
ลำดับ ตัวชี้วัด น้ำหนักการจัดสรร วงเงิน ร้อยละ ๕๐ ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน ๑๒ สัปดาห์ ๑๐ % ๙,๔๑๖,๘๗๘ ๔,๗๐๘,๔๓๙ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก ๕.๑ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) ๕% ๒,๓๕๔,๒๑๙.๕๐ ๕.๒ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) รวม ๑๘,๘๓๓,๗๕๖

7 สรุปการจัดสรรงบประมาณ QOF ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
งบสนับสนุน วงเงิน (บาท)  งบสนับสนุน QOF ๙๔,๑๖๘,๗๘๐.๐๐ งวดที่ ๑ ทำการเบิกจ่ายแล้วเดือนมกราคม ๒๕๖๐ ๙,๔๑๖,๘๗๘.๐๐ งวดที่ ๒ รอเบิกจ่ายเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๐ ๘๔,๗๕๑,๙๐๒.๐๐

8 ๑. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท)
ตัวชี้วัด (ข้อมูล HDC) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐ เกณฑ์การให้คะแนน ๑.๑ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด(เป้าหมายระดับประเทศมากกว่าร้อยละ ๙๐ Baseline ระดับเขตร้อยละ ๕๘.๙๙ ) น้ำหนัก ๗๐ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๙๐.๐๐ ร้อยละ ๘๐.๐๐-๘๙.๙๙ ร้อยละ ๗๐.๐๐-๗๙.๙๙ ร้อยละ ๖๐.๐๐-๖๙.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๖๐.๐๐ ใช้ข้อมูล HDC มาคำนวน น้ำหนัก 70

9

10

11

12 ตัวชี้วัด (ข้อมูลสปสช.)
๑.๒ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน (Baseline ระดับเขตร้อยละ ๒.๑๘) น้ำหนัก ๓๐ ตัวชี้วัด (ข้อมูลสปสช.) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐ เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๓.๐๐ ร้อยละ ๒.๐๐ - ๒.๙๙ ร้อยละ ๑.๐๐ - ๑.๙๙ ร้อยละ ๐.๕๐ -๐.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๐.๕๐ ใช้ข้อมูลจากมาคิดคำนวณมาจาก สปสช. น้ำหนัก 30

13 ๒. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท)
ตัวชี้วัด (ข้อมูล HDC) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐ เกณฑ์การให้คะแนน ๒.๑ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง (เป้าหมายระดับประเทศมากกว่าร้อยละ ๙๐ Baseline ระดับเขตร้อยละ ๖๓.๑๑ ) น้ำหนัก ๗๐ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๙๐.๐๐ ร้อยละ ๘๐.๐๐-๘๙.๙๙ ร้อยละ ๗๐.๐๐-๗๙.๙๙ ร้อยละ ๖๐.๐๐-๖๙.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๖๐.๐๐ ใช้ข้อมูลจากมาคิดคำนวณ

14

15

16

17 ตัวชี้วัด (ข้อมูล สปสช.)
๒.๒ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง (Baseline ระดับเขตร้อยละ ๓.๔๘ ) น้ำหนัก ๓๐ ตัวชี้วัด (ข้อมูล สปสช.) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐ เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๖.๐๐ ร้อยละ ๕.๐๐ -๕.๙๙ ร้อยละ ๔.๐๐- ๔.๙๙ ร้อยละ ๓.๕๐ – ๓.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๓.๕๐ ใช้ข้อมูลจากมาคิดคำนวณสปสช. น้ำหนัก 30

18 - มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๗๐.๐๐
๓. ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน ๑๒ สัปดาห์ (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท) แบ่งจ่ายงวดที่ ๑ : งวดที่ ๒ ( ๕๐ : ๕๐) ใช้ข้อมูลจาก HDC จังหวัด ตัวชี้วัด (เป้าหมายระดับประเทศมากกว่าร้อยละ ๖๐ Baseline QOF ระดับเขตร้อยละ ๔๕.๘๑ ) เกณฑ์การให้คะแนน - มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๗๐.๐๐ - ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ - ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ - ร้อยละ ๔๐.๐๐ – ๔๙.๙๙ - น้อยกว่าร้อยละ ๔๐.๐๐ การแบ่งจ่ายตัดข้อมูล 3+4 ปี 59 และ 1+2 ปี 60

19

20

21

22 - มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๗๐.๐๐
๔. ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ๓๐ - ๖๐ ปี ภายใน ๕ ปี (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท) ใช้ข้อมูล HDC และจ่ายงวดเดียวในงวดที่ ๒ ตัวชี้วัด (เป้าหมายระดับประเทศมากกว่าร้อยละ ๘๐ Baseline QOF ระดับเขตร้อยละ ๒๗.๗๑ ) เกณฑ์การให้คะแนน - มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๗๐.๐๐ - ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ - ร้อยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙ - ร้อยละ ๔๐.๐๐ - ๔๙.๙๙ - น้อยกว่าร้อยละ ๔๐.๐๐ ใช้ข้อมูลจาก HDC จัดสรรงวดเดียว งวด2 (ผลงานสะสม ณ ไตรมาส 2 ปี 60)

23

24

25

26 งวดที่ ๒ จ่าย ๕๐ % ใช้ข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๒๕๖๐
๕. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท) แบ่งจ่ายงวดที่ ๑ : งวดที่ ๒ ( ๕๐ : ๕๐) ใช้ข้อมูลจาก สปสช. ตัวชี้วัด งวดที่ ๒ จ่าย ๕๐ % ใช้ข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๒๕๖๐ เกณฑ์การให้คะแนน ๕.๑ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) - น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๒๐.๐๐ - ร้อยละ ๒๐.๐๑ – ๓๐.๐๐ - ร้อยละ ๓๐.๐๑ – ๔๐.๐๐ - มากกว่าร้อยละ ๔๐.๐๐ HDC จังหวัด 2 งวดๆละ50:50

27 งวดที่ ๒ จ่าย ๕๐ % ใช้ข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๒๕๖๐
๕.๒ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) ตัวชี้วัด งวดที่ ๒ จ่าย ๕๐ % ใช้ข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๒๕๖๐ เกณฑ์การให้คะแนน - น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๒๐.๐๐ - ร้อยละ ๒๐.๐๑ – ๓๐.๐๐ - ร้อยละ ๓๐.๐๑ – ๔๐.๐๐ - ผลงานมากกว่าร้อยละ ๔๐.๐๐

28 ตัวชี้วัด ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐
๖. การลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension) (๑๔,๑๒๕,๓๑๗ ล้านบาท) จัดสรรงวดเดียวใน งวดที่ ๒ ใช้ข้อมูลจาก IP e-claim สปสช. ตัวชี้วัด ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐ (เป้าหมายระดับประเทศลดลง ๖.๕๘ ต่อแสนประชากร,ระดับเขต ๐.๓๑) เกณฑ์การให้คะแนน - ลดลงมากกว่า ๖.๕๘ ต่อแสนประชากร - ลดลงตั้งแต่ ๔.๕๐ – ๖.๕๘ ต่อแสนประชากร - ลดลงตั้งแต่ ๒.๔๑ - ๔.๔๙ ต่อแสนประชากร - ลดลงตั้งแต่ ๐.๓๑ - ๒.๔๐ ต่อแสนประชากร - ลดลงน้อยกว่า ๐.๓๑ ต่อแสนประชากร ข้อมูลสปสช. IP e-claim คำนวณภาพรวมตัวชี้วัด ระดับ CUP

29 ตัวชี้วัด ๗ ร้อยละความถูกต้องของข้อมูลคุณภาพบริการใน ๔๓ แฟ้ม ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+๔ ปี ๕๙ และข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐

30 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๗.๑ ร้อยละความต่างของประชากร Type area ๑+๒ จากฐาน HDC เปรียบเทียบกับฐานข้อทะเบียนราษฎร์ ปี ๒๕๕๘ น้ำหนัก ๒๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน น้อยกว่าร้อยละ ๕.๐๐ ร้อยละ ๕.๐๐ – ๙.๙๙ ร้อยละ ๑๐.๐๐ –๑๔.๙๙ ร้อยละ ๑๕.๐๐ – ๑๙.๙๙ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๒๐.๐๐ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป น้ำหนัก 30

31

32

33

34 ๗.๒ ร้อยละความซ้ำซ้อนของ Type area ๑ กับ ๓ จากฐานข้อมูล HDC น้ำหนัก ๕๐
ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน น้อยกว่าร้อยละ ๕.๐๐ ร้อยละ ๕.๐๐ – ๙.๙๙ ร้อยละ ๑๐.๐๐ –๑๔.๙๙ ร้อยละ ๑๕.๐๐ – ๑๙.๙๙ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๒๐.๐๐ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป น้ำหนัก 30

35

36

37 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๗.๓ ร้อยละความต่างของข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่ขึ้นทะเบียนจากฐานข้อมูลของแต่ละสถานบริการที่รับผิดชอบเปรียบเทียบข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่ไปขึ้นทะเบียนทั้งหมดในจังหวัด (เฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่เขตรับผิดชอบของสถานบริการนั้น ๆ ) น้ำหนัก ๒๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน น้อยกว่าร้อยละ ๑๘.๕๑ ร้อยละ ๑๘.๕๑ – ๒๔.๕๑ ร้อยละ ๒๔.๕๒ – ๓๐.๕๒ ร้อยละ ๓๐.๕๓ – ๓๖.๕๓ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๓๖.๕๔ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป น้ำหนัก 30

38

39

40

41 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๗.๔ ร้อยละความต่างของหญิงคลอดที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการที่รับผิดชอบเปรียบเทียบกับหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในสถานบริการอื่น ๆ ในจังหวัด (เฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่เขตรับผิดชอบของสถานบริการนั้น ๆ ) น้ำหนัก ๑๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน น้อยกว่าร้อยละ ๑๘.๕๑ ร้อยละ ๑๘.๕๑ – ๒๔.๕๑ ร้อยละ ๒๔.๕๒ – ๓๐.๕๒ ร้อยละ ๓๐.๕๓ – ๓๖.๕๓ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๓๖.๕๔ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป น้ำหนัก 30

42

43

44

45 ตัวชี้วัด ๘ ร้อยละการติดตามเยี่ยมประชากร กลุ่มเป้าหมายใน long term care เขตสุขภาพ ที่ ๑ (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๓+ ๔ ปี ๕๙ และ ข้อมูลไตรมาส ๑+๒ ปี ๖๐

46

47

48

49 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๘.๑ ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองประเมินสุขภาพตามเกณฑ์ น้ำหนัก ๓๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๘๐.๐๐ ร้อยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป น้ำหนัก 30

50

51

52

53 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๘.๒ ร้อยละประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามเยี่ยมตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก ๗๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๗๐.๐๐ ร้อยละ ๖๐.๐๐ -๖๙.๙๙ ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ ร้อยละ ๔๐.๐๐ – ๔๙.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๔๐.๐๐ น้ำหนัก 70

54

55

56

57 ตัวชี้วัด ๙ ร้อยละการติดตามเด็กในกลุ่มอายุ ๙-๑๘-๓๐-๔๒ เดือน ที่มีปัญาพัฒนาการล่าช้า (๙,๔๑๖,๘๗๘ บาท) ใช้ข้อมูลไตรมาส ๔ ของปี ๕๙ และไตรมาส ๑+๒ ของปี ๖๐

58 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๙.๑ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการน้ำหนัก ๓๐ ใช้ข้อมูลไตรมาส ๔ ของปี 59 และไตรมาส ๑+๒ ของปี ๖๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๘๐.๐๐ ร้อยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐ ใช้ข้อมูลไตรมาส 4 ของปี 59 และไตรมาส 1+2 ของปี 60 น้ำหนัก 30

59

60

61

62 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๙.๒ เด็กอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ และพบเด็กสงสัยล่าช้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ น้ำหนัก ๓๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๒๕.๐๐ ร้อยละ ๒๐.๐๐ – ๒๔.๙๙ ร้อยละ ๑๕.๐๐ – ๑๙.๙๙ ร้อยละ ๑๐.๐๐ – ๑๔.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๑๐.๐๐ Baseline 13 น้ำหนัก 30

63

64

65

66 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๙.๓ ร้อยละ ๙๐ ของเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้น และติดตาม ภายใน ๓๐ วัน น้ำหนัก ๔๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๗๐.๐๐ ร้อยละ ๖๐.๐๐ -๖๙.๙๙ ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ ร้อยละ ๔๐.๐๐ – ๔๙.๙๙ น้อยกว่าร้อยละ ๔๐.๐๐ น้ำหนัก 40

67

68

69

70 สรุป - ให้ปรับปรุงแก้ไขข้อมูลใน HOSxP,HOSxP_PCU แล้ว ส่งข้อมูล 43 แฟ้ม เข้า HDC ภายในวันที่ 14 พฤษภาคม สามารถตรวจสอบข้อมูลผลงานจากการบันทึกได้ที่ ?r=qof

71 สรุปการให้น้ำหนักตามตัวชี้วัด
ลำดับ ตัวชี้วัด ร้อยละน้ำหนักการจัดสรร ๑.๑ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ๗๐ ๑.๒ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน ๓๐ ๒.๑ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ๒.๒ ร้อยละของประชากรไทยอายุ ๓๕ - ๗๔ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง ๗.๑ ร้อยละความต่างของประชากร Type area ๑+๒ จากฐาน HDC เปรียบเทียบกับฐานข้อทะเบียนราษฎร์ ปี ๒๕๕๘ ๒๐ ๗.๒ ร้อยละความซ้ำซ้อนของ Type area ๑ กับ ๓ จากฐานข้อมูล HDC ๕๐ ๗.๓ ร้อยละความต่างของข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่ขึ้นทะเบียนจากฐานข้อมูลของแต่ละสถานบริการที่รับผิดชอบเปรียบเทียบข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่ไปขึ้นทะเบียนทั้งหมดในจังหวัด (เฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่เขตรับผิดชอบของสถานบริการนั้น ๆ ) ๗.๔ ร้อยละความต่างของหญิงคลอดที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการที่รับผิดชอบเปรียบเทียบกับหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดในสถานบริการอื่น ๆ ในจังหวัด (เฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่เขตรับผิดชอบของสถานบริการนั้น ๆ ) ๑๐

72 สรุปการให้น้ำหนักตามตัวชี้วัด
ลำดับ ตัวชี้วัด ร้อยละน้ำหนักการจัดสรร ๘.๑ ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองประเมินสุขภาพตามเกณฑ์ ๓๐ ๘.๒ ร้อยละประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามเยี่ยมตามเกณฑ์ที่กำหนด ๗๐ ๙.๑ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ๙.๒ เด็กอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ และพบเด็กสงสัยล่าช้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ๙.๓ ร้อยละ ๙๐ ของเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้น และติดตามภายใน ๓๐ วัน ๔๐


ดาวน์โหลด ppt การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google