งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
การใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษีของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม

2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี

3 ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา จำนวน 136 คน ที่เรียนวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี

4 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ กลุ่มทดลอง นักเรียน ปวช.3 ห้อง 3 จำนวน 43 คน กลุ่มควบคุม นักเรียน ปวช.3 ห้อง 2 จำนวน 45 คน โดยวิธีจับฉลากเพื่อคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง

5 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น - วิธีสอนมี 2 วิธี คือ
ตัวแปรต้น - วิธีสอนมี 2 วิธี คือ 1. การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 2. การจัดการเรียนรู้แบบปกติ ตัวแปรตาม - ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
 แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน  แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชี เกี่ยวกับภาษี เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคล

7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเกี่ยว
กับภาษี เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคล กลุ่มทดลอง สูงกว่า กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

8 ข้อเสนอแนะ อาจารย์ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยอาจคัดเลือกวิธีการในการจัดการเรียนรู้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อนำไปทดลองใช้กับการจัดการเยนรู้ในรายวิชาอื่นที่มีเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอนที่สามารถนำวิธีการสอนแต่ละวิธีไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมของรายวิชาและเนื้อหาที่แตกต่างกัน

9 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
ผู้วิจัยอาจทำการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนร่วมด้วยหรือศึกษาความคงทนในการเรียนรู้หรืออาจใช้วิธีการสอนเดิมกับกลุ่มตัวอย่างอื่นเพื่อเป็นการทดสอบว่าผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากการใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานอย่างแท้จริง


ดาวน์โหลด ppt ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google