งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข วันที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข วันที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข วันที่ 4 สิงหาคม 2557

2 จำนวนผู้ป่วยที่รายงานโดยองค์การอนามัยโลกภูมิภาคอัฟริกา
ประเทศ ผู้ป่วยรายใหม่ ก.ค. 57 ผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยเข้าข่าย ผู้ป่วยสงสัย รวม Guinea ผู้ป่วย 5 337 122 13 472 ผู้เสียชีวิต 3 220 4 346 Liberia 31 109 181 101 391 46 103 88 36 227 Nigeria 2 1 Sierra Leone 17 507 41 26 574 9 209 34 252 55 953 345 142 1440 58 532 245 49 826 เวบไซต์ ณ วันที่ 4 สิงหาคม 2557 (ข้อมูลผู้ป่วย update ถึงวันที่ 31 ก.ค. 57)

3

4 Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December July 2014 Guinea Sierra Leone Liberia source: source:

5 ภาพรวมของการระบาดในภูมิภาคอัฟริกาตะวันตก
ยอดผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตในขณะนี้นับว่าเป็นการระบาดที่รุนแรงที่สุดตั้งแต่ ที่มีค้นพบโรคนี้เป็นต้นมา สถานการณ์ในกินีเริ่มชะลอตัว แต่ไลบีเรียและเซียร์ราลีโอนยังมีผู้ป่วยและ ผู้เสียชีวิตเพิ่มอย่างรวดเร็ว และเริ่มแพร่ออกไปประเทศใกล้เคียง การเคลื่อนย้ายประชากรอย่างสูงภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีผล ให้เกิดการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว WHO ได้ประเมินการควบคุมการระบาด พบปัญหาอุปสรรคในการติดตาม ผู้สัมผัสได้ไม่ครบถ้วน การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลโดยเฉพาะใน บริเวณนอกเมืองใหญ่ ขาดแคลนทรัพยากรต่างๆ รวมทั้งขาดบุคลากรที่มี ความรู้ทางวิชาการ ขาดการประสานระหว่างพรมแดนระหว่างประเทศเพื่อ ติดตามผู้ป่วย

6 สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (1)
การติดเชื้อและเสียชีวิตในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ ประเทศ Sierra Leone: Dr. Sheik Humarr แพทย์หัวหน้าทีมรักษาผู้ป่วยอีโบลาเสียชีวิต ประเทศ Liberia: Dr. Samuel Brisbane หนึ่งในแพทย์หัวหน้าทีมรักษาผู้ป่วยอีโบลาเสียชีวิต โดยเป็นแพทย์ชาว ไลบีเรียนรายแรกที่เสียชีวิตจากอีโบลา Dr. Kent Brantly ชาวอเมริกันซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยแพทย์ของ Samaritan's Purse care center และ Nancy Writebol เจ้าหน้าที่ชาวอเมริกันอีก 1 รายเป็น hygienist (ทำหน้าที่ decontaminate staff ที่กำลังเข้าและออกจากหน่วยแยกโรคของโรงพยาบาล) เกิดการติดเชื้อ อีโบลา ขณะนี้อาการค่อนข้างหนัก ทั้งสองรายถูกส่งกลับอเมริกาแล้วโดยใช้เครื่องบินทาง การแพทย์ขนย้ายผู้ป่วยเข้ามาทำการรักษายังโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเอมโมรี่ เมือง แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย

7 สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (2)
การพบผู้ป่วยในประเทศใหม่ (ไนจีเรีย) ซึ่งไม่ได้เป็นพื้นที่ติดต่อกับประเทศที่กำลังมีการ ระบาด นาย Patrick Sawyer ที่ปรึกษาการคลังชาวไลบีเรียนได้เสียชีวิตที่เมือง Lagos ประเทศ ไนจีเรีย นับเป็นผู้ป่วยรายแรกของประเทศ ขณะนี้ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มผู้ป่วยเข้าข่าย (probable case) โดยอยู่ระหว่างรอส่งตัวอย่างตรวจยืนยันที่ Pasteur Institute ในประเทศ Senegal แต่ บริษัทขนส่งไม่ยอมรับตัวอย่าง มีประวัติเดินทางโดยเครื่องบินจากไลบีเรีย ผ่านสนามบินอีก 2 ประเทศ คือที่เมือง Lome ประเทศ Togo และเมือง Accra ประเทศ Ghana โดยที่ผู้ป่วยมีอาการอาเจียนและถ่ายเหลว ในขณะเดินทาง สามารถระบุผู้สัมผัสแล้ว 59 ราย, 15 รายเป็นพนักงานบนเครื่องบิน และอีก 44 รายเป็นผู้สัมผัสในโรงพยาบาล น่าจะได้รับเชื้อจากการดูแลน้องสาวซึ่งเสียชีวิตไปก่อนหน้านี้ โดยที่ระยะแรกได้รับการ วินิจฉัยเป็นมาลาเรีย แต่มาตรวจพบว่าเป็น Ebola หลังจากเสียชีวิต

8 แนวทางดำเนินการ จัดตั้งระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
เตรียมห้องแยกในโรงพยาบาลทุกแห่ง จัดระบบป้องกันการติดเชื้อตามมาตรฐานสากล ระบบการส่งตรวจยืนยันเชื้อทางห้องปฏิบัติการ ชี้แจงทำความเข้าใจและให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่และ ประชาชน

9 นิยามเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (ปัจจุบัน)
มีไข้ตั้งแต่ 38c ขึ้นไป และ มีประวัติเดินทางกลับมาจากประเทศที่พบผู้ป่วยในช่วง 21 วัน Liberia – ไลบีเรีย Sierra Leone – เซียรา เลโอน Guinea – กีนี Nigeria – ไนจีเรีย ทั้งนี้ให้มีติดตามอาการของประชาชนที่เดินทางจากพื้นที่เสี่ยงอย่าง ต่อเนื่องเป็นเวลา 21 วันด้วย

10 2. จัดเตรียมห้องแยกในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง 3
2. จัดเตรียมห้องแยกในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง 3. จัดระบบป้องกันการติดเชื้อตามมาตรฐานสากล ให้ตรวจสอบความพร้อมของห้องแยกในโรงพยาบาล ต้องเป็นห้องเดี่ยวมีห้องน้ำในตัวและมีประตู ควรมีเจ้าหน้าที่เฝ้าหน้าห้องเพื่อรับประกันว่ามีการใช้ PPE เสมอ มีการบันทึกชื่อผู้เข้าออกเสมอ ให้ตรวจสอบความพร้อมของ PPE เครื่องมือหัตถการควรเป็นแบบ disposable Standard + Contact + Droplet Precaution

11 Personal Protective Equipment (PPE)
เครื่องป้องกันดวงตา (goggles or face shield) หน้ากาก เสื้อกาวน์ (กันน้ำ/ของเหลวซึมผ่านไม่ได้) ถุงมือยาว การใช้อุปกรณ์เพิ่มเติมในกรณีที่ต้องการการป้องกันเป็นพิเศษ ถุงมือสองชั้น ปลอกคลุมรองเท้า ปลอกคลุมขา หมวกคลุมศีรษะ

12 4. ระบบการส่งตรวจยืนยันเชื้อทางห้องปฏิบัติการ
หากต้องการตรวจให้แจ้งไปยัง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์โดยตรง เพื่อให้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์นำบุคลากรและ เครื่องมือเข้ามาทำการเก็บตัวอย่างเอง

13 5. ชี้แจงทำความเข้าใจและให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่และประชาชน
สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชน เจ้าหน้าที่ – ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลที่จะต้องมีการเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย แพทย์ พยาบาล (OPD/IPD/ER) ผู้ช่วยพยาบาล นักวิทยาศาสตร์การแพทย์/เจ้าหน้าที่Lab/เจ้าหน้าที่X-ray นักกายภาพบำบัด เจ้าหน้าที่ทันตกรรม เภสัชกร เจ้าหน้าที่รพ.สต. / SRRT ผู้จัดการศพ พนักงานโรงพยาบาลอื่นๆที่อาจเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย (เช่น การเงิน, รปภ., ภารโรง)


ดาวน์โหลด ppt แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข วันที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google