ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKlaew kla Sasiprapa ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
Getsara Sansiritawisuk
2
Ebola Virus Outbreak
3
Ebola Virus Inflicts Deadly Toll on African Health Workers by Africa News Life after Ebola has new meaning for two survivors now helping others
4
จำนวนผู้ป่วยที่รายงานโดยองค์การอนามัยโลก ภูมิภาค แอฟริกา ( ข้อมูล ณ. วันที่ 19 ธค 57) ประเทศจำนวนผู้ป่วย ทั้งหมด ( คน ) เสียชีวิต (CFR) ประเทศที่มีการระบาดในวงกว้าง กินี 2,4161,525 (63.1%) ไลบีเรีย 7,7973,290 (42.2%) เซียร์ราลีโอน 8,3562,085 (25.0%) ประเทศที่มีผู้ป่วยรายแรกหรือมีการระบาดในพื้นที่จำกัด ไนจีเรีย 208 (40%) เซเนกัล 10(0.0%) สเปน 10(0.0%) สหรัฐอเมริกา 41(25.0%) มาลี 86(75.0%) รวม 18,6036,915(37.17%)
5
สถานการณ์การระบาดในประเทศไนจีเรีย Patrick Sawyer บุคลากรทาง การแพทย์ (44 คน ) เจ้าหน้าที่ สนามบิน (15 คน ) สัมผัส โรค 12 confir med หนี 1 คน ( พยาบ าล ) กักกัน ได้ 11 คน มีผู้ สัมผัส 118 คน มีผู้ สัมผัส 21 คน หนีไป เมือง Enugu คนที่มารอรับ Staff of ECOWAS Hotel at Harcourt Dr lyke Sam Enemuo Confirmed death 217 ผู้สัมผัส ภรรยา, จนท. และ ผู้ป่วยใน รพ, โรงแรม สัมผัส โรค Lag os Confirmed มีผู้ป่วยยืนยันนอกลากอส (2 o contact) แต่ยังเชื่อมโยงกับ index case ภรรยาของ Dr.Enemuo มีอาการป่วย รอ Lab หากผลบวกจะเป็น (3 o contact)
6
Ebola Taxonomy Scientific Classification Order: Mononegavirales Family: Filoviridae Genus: Ebola like viruses Species: Ebola Subtypes Ebola virus Sudan virus Taï Forest virus and Bundibugyo virus The fifth, Reston virus, has caused disease in nonhuman primates, but not in humans. Copyrighted Dr. Fre:derick A. Murphy, D.V.M., Ph.D. 1976.
7
Where does Ebola hide?
8
Ebola Epidemiology Reservoirs in Nature –largely unknown –possibly infected animals (primates?) Transmission –direct contact blood/secretions of infected person –possible airborne (Reston primate facility) Onset of illness abrupt –incubation period: 2 to 21 days –infections are acute and mostly deadly
9
Symptoms and Diagnostic Tests Early symptoms –muscle aches, fever, vomiting –red eyes, skin rash, diarrhea, stomach pain Acute symptoms –bleeding/hemorrhaging from skin, orifices, internal organs Early Diagnosis very difficult signs & symptoms very similar to other infections Laboratory Test PCR detection ELISA (enzyme-linked immuno-absorbant) assay
10
Treatment No Standard Treatment available Patients receive supportive therapy treating complicating infections balancing patient’s fluids and electrolytes maintaining oxygen status and blood pressure
11
Prevention No vaccines! Patients are isolated Medical Staff Training –western sanitation practices intake care during stay after patient dies Infection-control Measures –complete equipment and area sterilization
12
Prevention After Death Virus contagious in fluids for days Burial use extreme caution –handling and transport –cultural practices/ religious belief –incinerate all waste !!!!
13
คำแนะนำ สำหรับคนไทยที่เดินทางไปประเทศ เสี่ยง ต้องระมัดระวัง ไม่ใกล้ชิด ผู้ป่วย หรือ ผู้ที่มีอาการสงสัย เมื่อเดินทางกลับประเทศไทย ต้อง คอยสำรวจตรวจตราตัวเองว่ามีไข้ หรือไม่ ถ้ามีไข้ ต้องรีบไปพบแพทย์ ทันที และให้ประวัติให้ละเอียดว่า ไปที่ใดมาบ้างในช่วง 21 วันก่อนมีไข้
14
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติด เชื้ออีโบลา ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI: patient under investigation) ผู้ที่มีอาการไข้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ มีประวัติสัมผัสโรคในช่วง 21 วันก่อนเริ่ม ป่วย ข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้ - อาศัยอยู่ หรือ เดินทางมาจากประเทศที่เกิด โรค - สัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ สอบสวน / สงสัยติดเชื้ออีโบลา - สัมผัสโดยตรงกับสัตว์จำพวกค้างคาว หนู ลิง สัตว์ป่าเท้ากีบที่มาจาก พื้นที่เกิดโรค
15
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติด เชื้ออีโบลา ผู้ป่วยสงสัย ( suspect case ) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ สอบสวนที่มี อาการไข้ ร่วมกับอาการอย่างน้อย 3 จากอาการ ดังต่อไปนี้ ปวดศีรษะมาก ปวดข้อมาก ปวดกล้ามเนื้อ มาก ปวดแน่นท้อง อาเจียน ถ่ายเหลว สะอึก กลืน ลำบาก ซึม หรือ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มีอาการเลือดออกผิดปกติ / อาการรุนแรงที่เกิดขึ้นหลายระบบอวัยวะ / เสียชีวิต โดยไม่ทราบสาเหตุอื่นๆ ที่ชัดเจน ผู้ป่วยน่าจะเป็น ( probable case ) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ สอบสวน ที่มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่ยืนยัน / น่าจะ เป็นผู้ติดเชื้ออีโบลา
16
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติด เชื้ออีโบลา ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน / สงสัย / น่าจะเป็นที่มีผล ตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบหลักฐานการติดเชื้อ ไวรัสอีโบลา ด้วยวิธี – ทั้ง Ebola Realtime และ Conventional RT-PCR ให้ ผลบวก จากตัวอย่างเลือดที่ตรวจโดย ห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 2 และเก็บอย่างน้อยวันที่ 5 หลังเริ่มมีอาการ รวมทั้งมีผล Nucleotide sequencing จากห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 แห่ง หรือ – สามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลา (viral isolation) หมายเหตุ ณ ปัจจุบัน ห้องปฏิบัติการในประเทศไทย ยังไม่ทำการแยกเชื้อไวรัสอีโบลาใน ห้องปฏิบัติการ เนื่องจากต้องการความปลอดภัยสูงในระดับ BSL4 การแยกเชื้อไวรัสอีโบ ลาต้องนำส่งห้องปฏิบัติการของ US CDC
17
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติด เชื้ออีโบลา ตัดออกจากการเป็นผู้ป่วย (discarded) ผู้ป่วยที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบ หลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลาจากทั้ง Ebola Realtime และ Conventional RT-PCR ให้ผลลบ จาก ตัวอย่างเลือดที่เก็บในช่วงเวลาที่เหมาะสม ( อย่าง น้อยวันที่ 5 หลังเริ่มมีอาการ ) และตรวจโดย ห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 2 แห่ง
18
ให้ใช้แบบบันทึกนี้สำหรับบันทึกข้อมูล ผู้ป่วยส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ ด้วย
19
World Health Organization website : Ebola factsheetWorld Health Organization website : Ebola factsheet Ebola-Marburg viral Disease: Control of Communicable Disease Manual, 18th Edition;page 198-199 กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข Referrences :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.