งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)
ถ่ายทอดแนวทางปลอดโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดจันทบุรี วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลพลับพลานารายณ์ จ.จันทบุรี ภายใต้ความร่วมมือของเครือข่ายส่งเสริมการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าภาคตะวันออก ( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)

2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า เมื่อ 4,00 ปีที่แล้วมีการพบสุนัขบ้ากัดผู้คน

3 โรคพิษสุนัขบ้า หรือ โรคกลัวน้ำ
หรือ โรคกลัวน้ำ เป็นโรคติดต่ออันตรายเกิดจากเชื้อไวรัส ติดต่อจากสัตว์สู่คน เมื่อได้รับเชื้อ / เกิดอาการแล้ว จะเสียชีวิตทุกราย ในแต่ละปีทั่วโลก จะมีคนถูกสุนัขมีอาการน่าสงสัยกัดเป็นจำนวนหลายล้านคน และเสีย ชีวิตประมาณ 55,000 ราย

4 เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าเป็นไวรัสชนิดหนึ่ง ติดต่อจากสัตว์สู่คน โดยมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นตัวกลาง(พาหะนำโรค)

5 องค์การอนามัยโลก ปี คศ.2020 องค์การควบคุมโรคระบาดสัตว์
ระหว่างประเทศ (OIE) กำหนดเป้าหมายให้ทุกประเทศเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไป ภายใน ปี คศ.2020

6 RFA ความร่วมมือกระทรวงสาธารณสุข
รัฐบาลไทยเห็นด้วยกับหลักการมีมติมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง RFA คร. สป. ปศ. สปถ. ความร่วมมือกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงมหาดไทย

7 ระดับท้องถิ่น ยุทธศาสตร์เร่งรัดกำจัด โรคพิษสุนัขบ้า สธ. ปศอ. สคร. ปศข.
ระดับภาค สธ. สคร. ปศข. ท้องถิ่น อปท. ปศอ. รพสต. อสศ. ระดับท้องถิ่น

8

9 สถานการณ์โรคประเทศไทย
นพ.ประเสริฐ ทองเจริญรวบรวมรายงานตั้งแต่ปี พ.ศ พบว่าแต่ละปีจะมีคนเสียชีวิต คน ปัจจุบันประเทศไทยจะมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรค พิษสุนัขบ้า ปีละ10-15 คน แต่จะพบผู้สัมผัสโรค มากถึง ปีละ 500,000 ราย และมีชาวต่างชาติด้วย ปี พ.ศ.2554

10

11

12 จุดเน้น ปี 2556 โรคพิษสุนัขบ้า ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง
ประเด็นโรคที่เป็นปัญหารายภาค ภาคเหนือ โรคติดเชื้อสเตร็พโตค๊อกคัสซูอิส ภาคกลาง โรคพิษสุนัขบ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรคพยาธิใบไม้ในตับ ภาคใต้ โรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีน

13 แนวโน้มการเกิด อดีต ปัจจุบัน โรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรค
ผู้ป่วยเสียชีวิต อดีต ปัจจุบัน

14 ผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
ปี 2550 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 5 ราย ( ชลบุรี 2 ราย / ระยอง 2 ราย/สระแก้ว 1 ราย ) ปี 2551 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย ( ชลบุรี 1 ราย / สระแก้ว 1 ราย ) ปี 2552 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย ( ระยอง 2 ราย ) ปี 2553 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย (ชลบุรี 1 ราย ) ปี 2554 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ( ระยอง 1 ราย ) ปี 2555 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ( จันทบุรี ) ปี 2556 มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ( ปราจีนบรี )

15 แนวโน้มการสร้างพื้นที่ฯ
สรุปผลการประเมินเลื่อนระดับพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปีงบประมาณ 2553 ที่ หลักเกณฑ์ ฉช. ชบ. รย. จบ. ตร. นย. ปจ. สก. สป. 1. พบผู้เสียชีวิต ( ปี ) X XX 2. ส่งสุนัขตรวจพบเชื้อ 3. สุ่มเก็บตัวอย่าง(0.01%)ไม่พบเชื้อ (ปี ) - 4. ขึ้นทะเบียนสุนัข 80 % 5. สุนัขฉีดวัคซีน 80 % 6. มีระบบเฝ้าระวังการเคลื่อนย้ายสุนัขเข้า-ออก สรุปสถานะรายอำเภอ C B แนวโน้มการสร้างพื้นที่ฯ A ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์เขต 2 ฉะเชิงเทรา

16 พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
Rabies Free Area หมายถึง พื้นที่ไม่ปรากฏโรคพิษสุนัขบ้าในคนและในสัตว์ทุกชนิด ในพื้นที่มีการเฝ้าระวังค้นหาอย่างทั่วถึง และมีมาตรการควบคุมการนำสัตว์เข้ามาในพื้นที่นั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา

17 การแบ่งพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
พื้นที่ C พื้นที่มีรายงานคน/สัตว์เสียชีวิต พื้นที่ B พื้นที่ไม่พบรายงานคนเสียชีวิตตลอดเวลา 2 ปี แต่ยังพบรายงานสัตว์ตาย พื้นที่ A พื้นที่ไม่พบรายงานโรคในคน/ในสัตว์ ตลอดเวลา 2 ปี การแบ่งพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า

18 3. สุนัขได้รับการฉีดวัคซีน 100 %
5. การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์สำเร็จสำเร็จครอบคลุม 100 % 4. สุนัขได้รับการจดทะเบียน 100 % ไม่มีสุนัขจรจัดในพื้นที่สาธารณะ มีการเฝ้าระวังสุนัขเข้า-ออกในพื้นที่ 3. สุนัขได้รับการฉีดวัคซีน 100 % 2. ไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ต่อเนื่อง 2 ปี จากพื้นที่ A (สุ่มตรวจ 0.01 % ) 1. ไม่มีคนเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ต่อเนื่อง 2 ปี จากพื้นที่ A

19 คณะทำงานส่งเสริมการสร้างพื้นที่
ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า คณะทำงาน RFA.ระดับภาค คณะทำงาน RFA.จังหวัด คณะทำงาน RFA.อำเภอ คณะทำงาน RFA.อปท. คณะทำงาน RFA.อปท. คณะทำงาน RFA.อปท.

20

21

22

23

24

25 ทำไม ? อปท.จะต้องดำเนินการเรื่องนี้ ปฏิบัติ ตาม กม. นโยบายWHO./OIE
รัฐบาล ภารกิจหน้าที่ตามกฏหมาย

26 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง - พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2523
- พรบ.โรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ.2535 - พรบ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2499

27 ปัญหาที่พบ.. 1.ในสัตว์เลี้ยง 2.ในคน ความครอบคลุมการฉีด
วัคซีนน้อยกว่า 80 % ไม่มีการควบคุมการ เคลื่อนย้ายสัตว์เลี้ยง การส่งหัวสุนัขตรวจ หาเชื้อลดลง ไม่ดูแลเอาใจใส่ การเลี้ยงสุนัข/แมว พฤติกรรมการให้ อาหารสุนัขจรจัด

28 ปีละ1,000 ล้านบาท ค่าฉีดวัคซีน ค่าใช้จ่ายการเดินทาง 5 เข็ม x 500 บาท
ต้องฉีดอิมมูโนโกลบุลิน (RIG) 2,000 บาท ค่าใช้จ่ายป้องกันควบคุม ปีละ1,000 ล้านบาท ค่าบริหารจัดการป้องกันควบคุมโรค 10,000 บาท เสียเวลา / เสียโอกาส

29 Facebook : east.rabies2556@gmail.com
โทร Facebook :

30 sugus

31 Working together to make
rabies history ร่วมมือ ขจัดภัย โรคพิษสุนัขบ้า ให้หมดไป เป็นตำนานเล่าขาน


ดาวน์โหลด ppt ( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google