ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
บูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
2
สถานการณ์และสภาพปัญหา
สถานการณ์ : ยังมีการระบาดโรคติดต่อสำคัญของประเทศ(DHF, Influenza, HFMD) และโรคติดต่อระหว่างประเทศ (EIDs, Diphtheria, Rabies) ปี 2556 : อำเภอที่ควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ภายใน 2 generation ร้อยละ 8.5 ปี 2555 : คอตีบระบาดที่จังหวัดเลยพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว สภาพปัญหา : ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยยังไม่สามารถนำไปแก้ไขปัญหาป้องกันควบคุมโรคได้อย่างครอบคลุม ระบบการรายงานเหตุการณ์จากภาคสนามสู่ศูนย์ปฏิบัติการทุกระดับยังไม่เป็นปัจจุบัน/ทันต่อ เหตุการณ์ SRRT อำเภอมีคุณภาพ แต่ยังพบเหตุการณ์ระบาดที่สามารถตรวจจับเหตุการณ์ได้ ระบบเฝ้าระวังโรคและภัย ที่ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศและจังหวัดชายแดนขาดประสิทธิภาพ ในการตรวจจับโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ ปัญหาสาธารณสุขจากการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าว
3
เป้าหมายการพัฒนาระบบควบคุมโรค (143.4 ลบ.)
ระบบเฝ้าระวัง (52.0 ลบ.) บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ มิติ) พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุก ระดับสามารถจัดการระบบเฝ้าระวังโรค และภัยได้ ศักยภาพทีม SRRT (15.6 ลบ.) SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (39.6 ลบ.) มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ IHR 2005 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ระบบควบคุมโรคและภัย ควบคุมโรคและภัย ในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ช่องทางเข้าออก (17.7 ลบ.) ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ สุขภาวะชายแดน (14.0 ลบ.) พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ประชากรต่างด้าว (4.5 ลบ.) พัฒนาระบบมูลประชากร ต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน
4
บูรณาการด้านพัฒนาระบบควบคุมโรค
ผลลัพธ์ : ควบคุมโรคติดต่อสำคัญของประเทศและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด งบประมาณ ระบบเฝ้าระวังได้มาตรฐาน และครอบคลุมทุกระดับ มีระบบเฝ้าระวังโรคและภัยที่ได้มาตรฐาน 5 ระบบ 5 มิติ ครอบคลุมทุกระดับ การวัดอำเภอควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ 52.0 ลบ. ความรวดเร็วในการตอบโต้สถานการณ์หรือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - SRRT ระดับอำเภอมีคุณภาพในการเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคที่มีคุณภาพ - มีระบบการรายงานเหตุการณ์จากภาคสนามสู่ศูนย์ปฏิบัติการทุกระดับ ที่เป็น real time ทันต่อเหตุการณ์ การวัด SRRT คุณภาพ 15.6 ลบ. 39.6 ลบ. ระบบการควบคุมโรคและภัยสุขภาพช่องทางเข้าออกประเทศ จังหวัดชายแดน และประชากรต่างด้าว ได้ตามกรอบมาตรฐาน IHR 2005 - ช่องทางเข้าออกประเทศ (67 ช่องทาง) และจังหวัดชายแดน (31 จังหวัด) มีสมรรถนะในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ ตามกฎ IHR 2005 - การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ในประชากรต่างด้าว การวัดช่องทางเข้าออกประเทศและจังหวัดชายแดนผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด 36.0 ลบ. รวมงบประมาณ 143.23 หมายเหตุ : ยังไม่รวมงบประมาณจาก สป.(สบรส., สนย.)
5
เครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงาน เครื่องมือของกรม/หน่วยงาน
แหล่งสืบค้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วย อีโบลา ไข้หวัดใหญ่ มือเท้าปาก ไข้เลือดออก เวบไซต์ กรมการแพทย์ คู่มือการประเมินตนเองการพัฒนาสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรหมแดนทางบก เวบไซต์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค เกณฑ์การประเมินสำหรับจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์กำหนดใน 12 เป้าหมาย กรมควบคุมโรค เวบไซต์ สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ (2005) เวบไซต์สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค อำเภอควบคุมโรคเข้มแข้งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ(DHS/DC) 2015 เวบไซคต์ สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติงานทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ฉบับปรับปรุงใหม่ 2555 เวบไซคต์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ฐานข้อมูลรายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค คู่มือแผนปฏิบัติการ แผนบูรณาการด้านพัฒนาระบบควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2558 เวบไซต์ กรมอนามัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.