งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาษาถิ่นใต้.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาษาถิ่นใต้."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาษาถิ่นใต้

2 ภาษาถิ่นใต้ หรือ ภาษาใต้ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภาษาปักษ์ใต้ ได้แก่ ภาษาที่พูดกันในภาคใต้ของประเทศไทย เช่น นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง สุราษฏร์ธานี เป็นต้น

3 14จังหวัด 5,000,000 คน ไม่มีอักษรเขียน 4 กลุ่ม ไท-แสก, คำ-ไท, ไท-กะได

4 ภาษาถิ่นใต้ สงขลา ตะวันตก ตะวันออก เจ๊ะเห

5 คำ ความหมาย กุบกั่บ รีบร้อน กางหลาง เกะกะ แกล้ง ตั้งใจทำ โกปี้ กาแฟ
ข้องใจ คิดถึง, เป็นห่วง ขี้หมิ้น ขมิ้น ขี้ชิด ขี้เหนียว แขบ รีบ ขี้หก, ขี้เท็จ โกหก แขว็ก แคะ

6 คำ ความหมาย เคร่า คอย, รอคอย เคย กะปิ ไคร้ ตะไคร้ ครกเบือ ครก คง ข้าวโพด งูบองหลา งูจงอาง ฉ่าหิ้ว ตะกร้า ชันชี สัญญา เชียก เชือก ตอเบา ผักกระถิน

7 ตัวอย่างการสนทนาในภาคใต้
ภาษาถิ่นใต้ ตัวอย่างประโยค ภาษามาตรฐาน                                    ภาษาถิ่นใต้ ชื่ออะไรค่ะ                                               ชื่อไหรจ๊ะ มาจากที่ไหน                                            มาจากเท่ไหน เป็นอย่างไรบ้าง                                        พันพรือมั้ง สบายดีไหม                                              บายดีหม้าย เป็นห่วงนะ                                               หวังเหวิดแรงนิ ทานข้าวหรือยัง                                        กินไหร่แล้วยัง

8 ตัวอย่างการสนทนาในภาคใต้
ภาษามาตรฐาน                                    ภาษาถิ่นใต้ จะไปไหนกันค่ะ                                        ติไปไหนกันจ๊ะ ไปกับใครหละ                                          ไปกับใครหลาว เรียนที่ไหน                                               เรียนเท่ไหน จะรีบไปไหน                                             แขบไปไหน ทำไมไม่กลับบ้านบ้าง                                ไซหม้ายหลบเรินมั้ง อย่าพูดโกหกนะ                                        อย่าแหลงขี้หกนะ ไปด้วยได้ไหม                                           ไปกันได้หม้าย

9 ตัวอย่างการใช้คำคล้องจองในภาษาใต้
"รุม กุม ขา 2 ขา   เดา คนที สองที     ขานางแดง " กลุ่มคำคล้องจอง ที่กล่าวนี้ เมื่อฟังสำเนียงไทยถิ่นใต้จะมีความหมายไปแต่ ทั้งหมดนี้คือ ตำรับยาอายุวัฒนะ  ที่ประกอบด้วยสมุนไพร   ดังนี้      1. รุม = มะรุม,    2. กุม = กุ่มน้ำ 3. ขา 2 ขา = ข่าใหญ่ และข่าเล็ก      4. เดา = สะเดา,     5. คนที สองที =  คนธีดำ และคนธีสอ, 6. ขานางแดง    รวมตัวยา ทั้งหมด   8  ชนิด

10 ตัวอย่างเพลงกล่อมเด็กภาคใต้

11 คือน้องเหอ……..คือนางพิมพา เหตุใดเล่าหนานางพิมพานอนกอดให้ลูกหลับ
๑.  นางพิมพา                   คือน้องเหอ……..คือนางพิมพา  เหตุใดเล่าหนานางพิมพานอนกอดให้ลูกหลับ            พวกเสนาและดนตรีเขาช่างเป่าปีและตีทับ  นางพิมพานอนกอดให้ลูกหลับ  ผัวหนีไม่ รู้สึก……….เหอ     ๒.  ไปคร                 ไปครเหอ………ไปแลพระนอนทรงเครื่อง  ศาหลาหน้าเมืองยกธงหางไก่  สิบเอ็ดตู จ้อง                                 สิบสองตูชัย  ยกธงหางไก่  ใครไปยกมือไหว้ ……………..  เหอ ๓.  นอนเสียน้องนอน                 นอนเสียน้องนอน………เหอ นอนให้หลับดี  แม่ซื้อทั้งสี่มาช่วยระวังรักษา  ป้อนข้าว อาบน้ำมารักษาเจ้าทุกเวลา                                        มาช่วยระวังและรักษา  หวางแม่ติมาถึง …………… เหอ

12  เพลงนางแม่ นางแม่เหอ ที่เลี้ยงโลกมารักษายาก พอโลกตกฟาก บนควายเขาทอง เดือนเสเดือนห้า โนรามาแก้เมลยน้อง บนควายเขาทอง ให้ช่วยชีวิตโลก

13 คุณค่าด้านวรรณศิลป์ บทเพลงกล่อมเด็กนี้อาจจะไม่ได้แต่งโดยใช้คำที่ไพเราะมากนักแต่สำนวนที่แต่งออกมานั้นมีความคมคายอย่างมาก คุณค่าทางด้านวัฒนธรรม                 ๑. สะท้อนให้เห็นถึงภูมิธรรม คือชี้ให้เห็นความยากลำบากของแม่ที่เลี้ยงลูก และให้เห็นว่าแม่รักและห่วงลูกเพียงใด                 ๒. สะท้อนให้เห็นถึงเรื่องความเชื่อทางไสยศาสตร์ มีการนับถือทวยเทพ และต้องมีการบวงสรวง อันแสดงว่าความเชื่อตามแบบศาสนาพราหมณ์มีอิทธิพลต่อ ความรู้สึกนึกคิดของชาวปักษ์ใต้                   ๓. สะท้อนให้เห็นว่าในระหว่างเดือนสี่เดือนห้านั้นเป็นเทศกาลที่ชาวใต้นิยมจัด งานแก้บน และในงานแก้บนนั้นนิยมรับโนรามาเล่นฉลอง การบนบานก็จะให้ของมีค่า หายากเป็นเครื่องพลีแก้บน เช่น วัวหรือควายเขาทอง ( เมื่อแก้จริงก็จัดฆ่าวัวควายธรรมดาแต่เอาแหวนหรือกำไลทองมาสวมเขา เอาเคล็ดเท่านั้น )


ดาวน์โหลด ppt ภาษาถิ่นใต้.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google