ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRochana Iemtadanai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
EBOLA สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน เตรียมความพร้อม
2
โรคอีโบล่า * ระบาดในปัจจุบัน และอัตราป่วยตายประมาณ ร้อยละ 45-90
โรคติดเชื้อไวรัสชนิดเฉียบพลันและรุนแรง จากเชื้อไวรัสอีโบลา ซึ่งมี 5 สายพันธุ์ 1. ซาร์อี * 2. ไอวอรีโคสต์ 3. ซูดาน 4. เรสตัน 5. บันดิบูเกียว * ระบาดในปัจจุบัน และอัตราป่วยตายประมาณ ร้อยละ 45-90 อัตราป่วยตาย
3
ระยะฟักตัว - อาการ ระยะฟักตัวประมาณ 2 - 21 วัน อาการ (เฉลี่ย 8-10 วัน)
ไข้สูงทันทีทันใด อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เจ็บคอ อาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว เลือดออกในและนอกร่างกาย ตับ/ไตวาย อาการระบบประสาทส่วนกลาง เสียชีวิต
4
การแพร่โรค/การติดต่อ
สัตว์สู่คน สัมผัสโดยตรงกับเลือด หรือเครื่องในของสัตว์ติดเชื้อ รับประทานผลไม้เหลือ จากสัตว์ติดเชื้อ
5
การแพร่โรค/การติดต่อ
คนสู่คน สัมผัสโดยตรงกับคน/ศพ ที่ติดเชื้อ สารคัดหลั่ง นํ้าอสุจิ อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด นอกจากนี้ เข็มและหลอดฉีดยาที่ปนเปื้อนเชื้อ
6
การรักษา การรักษา: ไม่มียารักษาจําเพาะ ไม่มีวัคซีน
การรักษา: ไม่มียารักษาจําเพาะ ไม่มีวัคซีน Zmapp และวัคซีน อยู่ในขั้นทดลอง
7
สถานการณ์ Ebola ในปัจจุบัน
Senegal Nigeria 7
9
+ 1
10
ระบาดทั่วพื้นที่ ติดเชื้อในพื้นที่ + ตาย ติดเชื้อในพื้นที่ + ไม่ตาย รับเข้าพื้นที่ + ตาย รับเข้าพื้นที่ + ไม่ตาย รับมาดูแลต่อ + ไม่ตาย รับมาดูแลต่อ + ตาย
11
สถานการณ์ในต่างประเทศ
11
12
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา
1. ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI: patient under investigation) คือ ผู้ที่มีอาการไข้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ มีประวัติข้อใดข้อหนึ่งในช่วง 21 วันก่อนเริ่มป่วย - อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากประเทศที่เกิดโรค (ปัจจุบันได้แก่ กินี ไลบีเรีย เซียราลีโอน และเมืองลากอส ไนจีเรีย) - สัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่สงสัยติดเชื้ออีโบลา - สัมผัสโดยตรงกับสัตว์จำพวกค้างคาว หนู ลิง สัตว์ป่าเท้ากีบที่มาจากพื้นที่เกิดโรค
13
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา 2
ผู้ป่วยสงสัย (suspect case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มี อาการอย่างน้อย 3 จากอาการดังต่อไปนี้ ปวดศีรษะมาก ปวดข้อมาก ปวดกล้ามเนื้อมาก ปวดแน่นท้อง อาเจียน ถ่ายเหลว สะอึก กลืนลำบาก ซึม หรือ เลือดออกผิดปกติ / อาการแย่ลงเร็ว / เสียชีวิต โดยไม่ทราบสาเหตุอื่นๆ ที่ชัดเจน ผู้ป่วยน่าจะเป็น (probable case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่ยืนยัน/น่าจะเป็นผู้ติดเชื้ออีโบลา
14
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา 2
ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด้วยวิธี Ebola Realtime RT-PCR ให้ผลบวก หรือการตรวจด้วยวิธี ELISA พบ Ebola IgM ให้ผลบวก หรือ สามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลา (viral isolation) หมายเหตุ ณ ปัจจุบัน ห้องปฏิบัติการในประเทศไทย ยังไม่ทำการแยกเชื้อไวรัสอีโบลาในห้องปฏิบัติการ เนื่องจากต้องการความปลอดภัยสูงในระดับ BSL4 การแยกเชื้อไวรัสอีโบลาต้องนำส่งห้องปฏิบัติการของ US CDC
15
นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา 3
ตัดออกจากการเป็นผู้ป่วย (discarded) ผู้ป่วยที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลาจากทั้ง Ebola Realtime และ Conventional RT-PCR ให้ผลลบ จากตัวอย่างเลือดที่เก็บในช่วงเวลาที่เหมาะสม (อย่างน้อยวันที่ 5 หลังเริ่มมีอาการ) และตรวจโดยห้องปฏิบัติการที่แตกต่างกัน
16
การแบ่งระดับการระบาด
ระดับที่ 1 (phase 1) มี PUI (ประวัติเสี่ยง + มีอาการ) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4 ราย มี contact ไม่เกิน 24 ราย ระดับที่ 2 (phase 2) มี confirm case ตั้งแต่ 1 ราย แต่ไม่เกิน 4 ราย หรือมี PUI รวมกับ confirm case ไม่เกิน 4 ราย หรือมี contact ไม่เกิน 24 ราย ระดับที่ 3 (phase 3) มี PUI รวมกับ confirm case มากกว่า 4 ราย หรือมี contact มากกว่า 124 ราย
17
ความเสี่ยงการมีผู้ป่วยในปัจจุบัน
พบผู้เดินทางจากประเทศเสี่ยง เฉลี่ยวันละ 22 คน จากการคำนวณพบว่า ประเทศไทยจะพบผู้ป่วย PUI เฉลี่ยประมาณ 2-4 คน ต่อเดือน จะพบ PUI ไปอีกอย่างน้อย 6-9 เดือน 1st generation สำคัญมาก
18
1
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.