ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBunyapoo Keacham ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
ครูพรรณิภา กิจเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูชำนาญการ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
2
พันธะไอออนิก (Ionic bond)
พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่ยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนที่มีประจุไฟฟ้าต่างกัน ซึ่งเกิดจากการให้และรับอิเล็กตรอน(เพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8)
3
มีหลายข้อจะจำได้รึเปล่านะ...!
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก 1. พลังงานการระเหิด มีหลายข้อจะจำได้รึเปล่านะ...! 2. พลังงานสลายพันธะ 3. พลังงานไอออไนเซชัน 4. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 5. พลังงานแลตทิช
4
หนูๆช่วย POOH เรียงลำดับขั้นตอนการเกิดสารประกอบไอออนิกด้วยจ้า.....!
พลังงานแลตทิช พลังงานไอออไนเซชัน 1 2 3 พลังงานสลายพันธะ 4 5 สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน พลังงานการระเหิด
6
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มีพลังงานเกี่ยวข้อง 2 ประเภท คือ
ไม่ยากอย่างที่คิด 1. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน 2. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน
7
1. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ได้แก่
H1 คือ พลังงานการระเหิด สู้ๆๆ นะคะ H2 คือ พลังงานการสลายพันธะ H3 คือ พลังงานไอออไนเซชัน
8
2. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน
H4 คือ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ต่ออีกนิดนะคะ H5 คือ พลังงานแลตทิช
9
พลังงานการระเหิด พลังงานการสลายพันธะ พลังงานไอออนเซชัน
พลังงานการระเหิด พลังงานการสลายพันธะ พลังงานไอออนเซชัน เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ถูกต้องค่ะ ง่ายจัง...! ผิดค่ะ
10
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน พลังงานแลตทิช เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน พลังงานแลตทิช เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน ถูกต้องค่ะ ง่ายอีกแล้ว...! ผิดค่ะ
11
พลังงานในการเกิดโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
= H1 + H2 + H3 + H4 + H5 = (+109) + (+121) + (+494) + (-347) + (-787) = kJ/mol นั่นคือ การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์(NaCl) เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน
12
โครงสร้างของสารประกอบไออนิก
1. โครงสร้างของผลึกชนิดเกลือหินหรือโซเดียมคลอไรด์ 2. โครงสร้างของผลึกชนิดซีเซียมคลอไรด์ 3. โครงสร้างของผลึกชนิดซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ 4. โครงสร้างผลึกชนิดแคลเซียมฟลูออไรด์
13
1. โครงสร้างของผลึกชนิดเกลือหินหรือโซเดียมคลอไรด์
1. โครงสร้างของผลึกชนิดเกลือหินหรือโซเดียมคลอไรด์ โครงสร้างแบบโซเดียมคลอไรด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Na+ จะมี Cl-ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออนและ Cl- จะมี Na+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน เช่น NaCl NaBr เป็นต้น
14
2. โครงสร้างของผลึกชนิดซีเซียมคลอไรด์
2. โครงสร้างของผลึกชนิดซีเซียมคลอไรด์ โครงสร้างแบบซีเซียมคลอไรด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Cs+ จะมี Cl-ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 8 ไอออนและ Cl- จะมี Cs+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 8 ไอออน เช่น CsBr CsI
15
3. โครงสร้างของผลึกชนิดซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์
3. โครงสร้างของผลึกชนิดซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ โครงสร้างแบบซิงค์ซัลไฟด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Zn2+ จะมี S2- ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 4 ไอออนและ S2- จะมี Zn2+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 4 ไอออน เช่นBeS CdS เป็นต้น
16
4. โครงสร้างผลึกชนิดแคลเซียมฟลูออไรด์
4. โครงสร้างผลึกชนิดแคลเซียมฟลูออไรด์ โครงสร้างแบบแคลเซียมฟลูออไรด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Ca2+ จะมี F- ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 8 ไอออนและ F- จะมี Ca2+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 4 ไอออน เช่น BaCl2 PbF2 เป็นต้น
17
ผลึกซีเซียมคลอไรด์ หนูๆช่วยจับคู่ชื่อโครงสร้างผลึกกับรูปด้วยค่ะ
ผลึกโซเดียมคลอไรด์ ผลึกซีเซียมคลอไรด์ ผลึกซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ ผลึกแคลเซียมฟลูออไรด์
18
พันธะไอออนิกมีการให้และรับอิเล็กตรอนเพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็นไปตามกฎออกเตตซึ่งมีค่าเท่ากับ
<Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.> ช่วยคิดหน่อยค่ะ
19
สารข้อใดต่อไปนี้แตกต่างจากสารอื่น
30 ก. โพแทสเซียมคลอไรด์ ข. คอปเปอร์(II)คลอไรด์ ค. อะลูมิเนียมคลอไรด์ ง. โบรอนไตรคลอไรด์ เริ่มแล้วนะคะ
20
สารชนิดใดปกติเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวนำไฟฟ้าได้ดี
30 ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ข. แคลเซียมฟลูออไรด์ ค. อาร์ซินิกไตรคลอไรด์ ง. ฟอสฟอรัสไตรไฮไดด์ ทำไมง่ายอย่างนี้
21
สารชนิดใดปกติเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวนำไฟฟ้าได้ดี
30 ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ข. แคลเซียมฟลูออไรด์ ค. อาร์ซินิกไตรคลอไรด์ ง. ฟอสฟอรัสไตรไฮไดด์ ทำไมง่ายอย่างนี้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.