ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
Simple Linear Correlation Analysis By Mr.Wuttigrai Boonkum Dept.Animal Science Fac.Agriculture Khon Kaen University
2
สัญญลักษณ์ r = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และ Y ของตัวอย่าง
การตั้งสมมุติฐาน H0 : = 0 HA: 0
3
ความหมายของค่าสหสัมพันธ์
(correlation) สห = ร่วมกันหรือด้วยกัน สัมพันธ์ = ความเกี่ยวข้องกัน การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรที่เป็นเชิงปริมาณ X1 = ความสูง X2 = น้ำหนักตัว X = ปริมาณไข่ Y = น้ำหนักขา
4
ความหมายของสหสัมพันธ์
เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปร ซึ่งมีลักษณะเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง โดยค่าสหสัมพันธ์มีค่าอยู่ระหว่าง > +1
5
รูปกราฟของสหสัมพันธ์
เส้นตรง linear ไม่เป็นเส้นตรง non-linear เรียกกราฟลักษณะนี้ว่า scatter diagram
6
ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย
+1 X1 X1 X1 +0.5 +0.2 X2 X2 X2 -1 -0.85 X1 X1 -0.2 X1 X2 X2 X2
7
ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย
X1 X1 X1 X2 X2 X2
8
ค่าสหสัมพันธ์มี 2 แบบ คือ
สหสัมพันธ์ในเชิงบวก Positive correlation สหสัมพันธ์ในเชิงลบ Negative correlation X1 X2 X1 X2 ตัวอย่าง: น้ำหนัก vs ส่วนสูง ขนาดเต้านม vs ปริมาณน้ำนม ความยาวของลำตัว vs จำนวนลูก ตัวอย่าง: น้ำหนักไข่ vs ปริมาณไข่ %ไขมันนม vs ปริมาณน้ำนม
9
ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย
โดยทั่วไปค่าสหสัมพันธ์จะมีค่าอยู่ในช่วง -1 ถึง +1 เครื่องหมาย + แสดงว่าตัวแปร X และ Y มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน เครื่องหมาย - แสดงว่าตัวแปร X และ Y มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางตรงกันข้ามกัน หากค่าสหสัมพันธ์ = +1 แสดงว่า X และ Y มีความสัมพันธ์อย่างสมบูรณ์และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน หากค่าสหสัมพันธ์ = -1 แสดงว่า X และ Y มีความสัมพันธ์อย่างสมบูรณ์แต่เป็นในทิศทางตรงกันข้าม หากค่าสหสัมพันธ์ = 0 แสดงว่า X และ Y ไม่มีความสัมพันธ์กัน การจัดกลุ่มค่าสหสัมพันธ์อย่างคร่าวๆ > มีความสัมพันธ์สูง > มีความสัมพันธ์ค่อนข้างสูง > มีความสัมพันธ์ต่ำ
10
การคำนวณ ดังนั้น รอบอกและน้ำหนักตัวเมื่อแรกเกิดของโคพื้นเมืองมีค่าสหสัมพันธ์ เท่ากับ เนื่องจาก มีค่าเป็นบวก แสดงว่าทั้งสองตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกัน
11
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.