ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSunanda Chalor ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
Microbiology and Parasitology Introduction to Microbiology
By Amporn Thiengtrongdee February /20/2012
2
วัตถุประสงค์ เพื่อ.. ทราบประวัติความเป็นมาของ วิชาจุลชีววิทยา
ทราบประวัติความเป็นมาของ วิชาจุลชีววิทยา ทราบการจัดหมวดหมู่ของ วิชาจุลชีววิทยา เรียกและเขียนชื่อจุลชีพได้ถูกต้อง
3
Microbiology จุลชีพหรือจุลินทรีย์ =microbe or microorganism
เป็นวิชาที่เรียนเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ เรียกว่าจุลินทรีย์ มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดทั้งคุณและโทษ กับ มนุย์ สัตว์ พืช ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง การสืบพันธุ์ สรีรวิทยา การจำแนกเผ่าพันธุ์ การแพร่กระจายและความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่น
4
ประวัติการค้นพบจุลชีพ
Antony van Leeuwenhoek เป็นผู้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์และเห็น Bacteria เป็นคนแรก เสียชีวิตปี 1723 ครั้งแรกผลิตแว่นขยายดูเส้นใยด้าย ต่อมาก็ฝนเลนส์และส่องดู น้ำฝน เหล้าองุ่น แล้ววาดรูป เม็ดเลือด, ส่าเหล้า, Protozoa, Bacteria
5
กำเนิดของจุลชีววิทยา
Louis Pasteur ชาวฝรั่งเศส บิดาแห่งจุลชีววิทยา เชื่อว่า Bacteria ทำให้เปลี่ยนแปลงใน Fermentation พบว่า Bacteria มักให้กรด Lactic และ กรดบิวทีริค (Butyric acid) พวกส่าหรือยีสต์เมื่อหมักแล้วจะได้ Alcohol
6
Louis Pasteur & Robert Koch 1857-1914 เป็นยุคทอง
สาธิต Anaerobe เจริญและมีชีวิตในที่ซึ่งไม่มีออกซิเจนเลย Aerobe เจริญและมีชีวิตได้ในที่มีออกซิเจนเท่านั้น Facultative anaerobe เจริญได้ทั้งในที่มีและไม่มีออกซิเจน แต่จะชอบที่มีออกซิเจนมากกว่า โต้แย้งกับทฤษฎีที่บอกว่าจุลินทรีย์เกิดขึ้นเองจากสิ่งไม่มีชีวิต และเป็นตัวการของ Fermentation ทำให้เหล้าองุ่นเปรี้ยว และพัฒนา Sterilization, Pasteurization
7
Louis Pasteur
8
การค้นพบวัคซีน 1881 Pasteur นำเชื้อโรคแอนแธร็ค เลี้ยงที่ °c เชื้อจะลดความรุนแรงลง นำไปปลูกในสัตว์ทำให้ต้านทานโรคได้ นำเชื้อพิษสุนัขบ้าจากน้ำลายของสุนัขบ้าฉีดเข้าในสันหลังของกระต่าย กระต่ายตายก็เอามาทำให้แห้งแล้วฉีดเป็นระยะติดต่อกันเริ่มตั้งแต่ถูกสุนัขบ้ากัด สามารถป้องกันโรคกลัวน้ำได้ Pasteur ทำงานหนักจนป่วยเป็นอัมพาต แต่ก็ทำมาเรื่อยๆ จนกระทั่ง 1895 จึงเสียชีวิต
9
สมมติฐานของค้อค (Koch’s postulates)
หลักที่ใช้ในการพิสูจน์โรคของค้อค ต้องพบเชื้อโรคในบริเวณที่แสดงอาการเป็นโรค เชื้อนั้นต้องแยกออกมาเป็นเชื้อบริสุทธิ์ได้ นำเชื้อไปเพาะในพืชหรือสัตว์ปกติจะทำให้เกิดโรคเดิมได้ และแยกเชื้อบริสุทธิ์ของโรคนั้นจากสัตว์หรือพืชทดลอง ไวรัสและริคเก็ตเซียไม่สามารถเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ ต้องเลี้ยงใน cell สิ่งมีชีวิต
10
Koch’s postulates
11
การศึกษาจุลชีววิทยา Bacteriology ศึกษาลักษณะทั่วไป ประโยชน์และโทษของแบคทีเรีย Immunology ศึกษาเกี่ยวกับการต้านทานโรค การผลิต การพัฒนาวัคซีน การสร้างความต้านทานโรคเมื่อได้รับเชื้อ ช่วยให้ตรวจวินิจฉัยได้เร็วขึ้น Mycology ศึกษาเกี่ยวกับกลุ่มรา ได้แก่ รา (mold) yeasts, mushrooms Phycology ศึกษาสาหร่าย Virology ศึกษาไวรัสที่ก่อโรคในคน สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก Protozoalogy ศึกษาโปรโตซัวก่อโรคในคน สัตว์
12
คุณสมบัติทั่วไปของจุลินทรีย์
พบในสิ่งแวดล้อม คน พืช สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก แบคทีเรียมีขนาด 1-2 µm ไวรัสมีขนาด 20 nm มีทั้งทำให้ก่อโรคและไม่ก่อโรค
13
จุลชีพที่ก่อโรคในคน มี 5 พวก
Protozoa (Parasite) เป็นชนิดเซลล์เดียวที่มี protoplasm, nucleus บางชนิดมีระยะเปลี่ยนแปลงรูปได้ Bacteria เป็นเซลล์เดียว ขนาดเล็กรูปร่าง กลม ยาว ท่อน อยู่รวมตัวหรือเดี่ยวๆ บางชนิดมี Capsule บางชนิดสร้าง spore ได้ Virus ขนาดเล็กมาก มองด้วยกล้องจุลทรรศน์ไม่เห็น ต้องอาศัยในสิ่งมีชีวิต Fungi ลักษณะรูปร่างไม่แน่นอน ผนังเซลล์หนา อยู่เซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ต่อกันเป็นเส้นยาว เจริญแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ สร้าง spore ได้ Rickettsiales คล้ายแบคทีเรียแต่ขนาดเล็กกว่าและเจริญในสิ่งมีชีวิต
14
ประโยชน์ของจุลินทรีย์
ผลิตยาปฏิชีวนะ การกำจัดขยะมูลฝอย ผลิตอาหาร เช่น นมเปรี้ยว ขนมปัง เนย ใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรม โดยใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Polymerase chain reaction; PCR) มาผลิต Insulin, Growth hormone, Interferon เพื่อใช้รักษาโรค การควบคุมแมลง สงครามชีวภาพ
15
Cell Robert Hooke ใช้กล้องจุลทรรศน์ดูไม้ Cork พบโครงสร้างสี่เหลี่ยมว่างๆ จึงเรียกว่า Cell และใช้กำลังขยายมากขึ้นพบว่าภายในมีของเหลวจึงเรียกว่า Protoplasm ซึงมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ Cell เป็นโครงสร้างสำคัญของสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 2 ชนิด -Prokaryotic cell เป็นเซลล์ที่มีส่วนประกอบง่ายๆ เช่น เซลล์แบคทีเรีย -Eukaryotic cell เป็นเซลล์ที่มีส่วนประกอบต่างๆซับซ้อน เช่น Protozoa รา พืช สัตว์
16
สิ่งมีชีวิตแบ่งตามลักษณะของเซลล์ เป็น 3 อาณาจักร
สิ่งมีชีวิตแบ่งตามลักษณะของเซลล์ เป็น 3 อาณาจักร อาณาจักรสัตว์ (Animal Kingdom) อาณาจักรพืช (Plant Kingdom) อาณาจักรโปรตีสตา (Protista Kingdom)
17
Protista Kingdom แยกได้ 2 กลุ่มตามลักษณะของเซลล์
Eukaryotes เซลล์ชั้นสูง ได้แก่ สาหร่าย (Algae) ยกเว้นสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (blue-green algae) โปรโตซัว (Protozoa) รา (Fungi) ลักษณะของเซลล์ชั้นสูงคล้ายคลึงกับเซลล์ของพืชและสัตว์ 2. Prokaryotes เซลล์ชั้นต่ำ ได้แก่ แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (blue-green algae)
18
blue-green algae
19
การเรียกชื่อแบคทีเรีย
ชื่อสามัญ E. coli มีชื่อสามัญว่า Colon bacillus ชื่อวิทยาศาสตร์ เรียกชื่อ genus และ species คู่กัน เขียนตัวเอนโดยไม่ต้องขีดเส้นใต้ เขียนตัวตรงต้องขีดเส้นใต้ แยกระหว่าง genus และ species ชื่อแรกเป็น genus ให้เขียนตัวใหญ่ และตัวหลังเป็น species ให้เขียนตัวเล็ก Pseudomonas aeruginosa Escherichia coli เขียนครั้งแรกตัวเต็ม E. coli เขียนครั้งต่อไป ย่อ genus
20
รูปพรรณสัณฐานของแบคทีเรีย (Morphology)
การสืบพันธุ์ แบบ Binary fission คือการแบ่งตัวจาก 1 เป็น ทรงกลม (COCCUS) -Staphylococcus พวกที่มีการเรียงตัวเป็นกลุ่มๆ -Streptococcus พวกที่มีการเรียงตัวเป็นสายยาว -Tetrad เรียงตัวติดกันเป็น 4 เซลล์
21
Morphology
23
รูปร่างลักษณะ Staphylococcus
รูปร่างกลม คล้ายพวงองุ่น
24
Streptococcus รูปร่างกลม เป็นสาย
25
Neisseria gonorrhoeae
Diplo coccus
26
Bacillus (ทรงแท่ง) Mycobacterium Tuberculosis
27
Spirillum (ทรงเกลียว)
Treponema pallidum พบในปาก ลำไส้ อวัยวะเพศ ซึ่งเป็นสาเหตุของโรค ซิฟิลิส Vibio cholerae พบในอุจจาระ เป็นสาเหตุของอหิวาตกโรค
28
Vibio cholerae
29
Treponema pallidum
30
Treponema pallidum
31
การจำแนกแบคทีเรีย โดยการย้อมสี Gram
เชื้อแบคทีเรียกรัมบวก (Gram positive bacteria) ย้อมสีติดสี น้ำเงิน-ม่วง เชื้อแบคทีเรียกรัมลบ (Gram negative bacteria) ย้อมสีติดสีแดง
32
Gram negative bacteria
ย้อมติดสีแดง
33
Gram positive bacteria ย้อมติดสีน้ำเงิน-ม่วง
34
ชนิดของแบคทีเรีย 1. Anaerobic bacteria - Clostridium tetani
- Clostridium botulinum
35
ลักษณะของผู้ป่วยที่เป็น Tetanus
36
2.Aerobic Bacteria แบคทีเรียดำรงชีวิตอยู่ได้โดยต้องมีออกซิเจน
Gram negative cocci Gram positive bacilli Gram negative bacilli
37
โครงสร้างของแบคทีเรีย
38
Flagella ใช้เคลื่อนไหว มี H antigen เช่นเชื้อ Salmonella typhi
39
Pili ถ่ายทอดยีน เกาะยึด cell host เช่น Shigella, Neiserria gonorrhea
Pili ของ Shigella
40
Capsule ป้องกันการ จับกินจาก Cell host
41
Cell wall สร้างสารพิษ (endotoxin) มี O antigen เช่น Salmonella typhi
42
ความสำคัญของ Cell wall
ปกป้องตัวเชื้อทำให้เชื้อคงรูปร่างอยู่ได้ ไวต่อยาต้านจุลชีพ ย้อมติดสี วิธีกรัม เป็นแอนติเจน ชนิด O antigen เป็นสารพิษ ชนิด endotoxin
43
Nucleus ประกอบด้วยสาร deoxyribonucleic acid (DNA) เป็นแหล่งข้อมูลทางยีนส์ซึ่งจะถ่ายทอดไปยังเซลล์แบคทีเรียรุ่นต่อไป เช่น ยีนส์ของเชื้อที่ดื้อยา
44
Endospore ในกรณ๊ที่สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม มีการสร้างสปอร์เพื่อให้ทนทานต่อสิ่งแวดล้อม สารเคมี ความร้อน ความแห้งแล้ง เชื้อที่สร้างสปอร์ คือ -Clostridium tetani -Bacillus antracis สร้างสปอร์เมื่ออยู่ในภาวะที่มีออกซิเจน เพราะเชื้อไม่ต้องการออกซิเจน
45
การถ่ายทอดพันธุกรรมของแบคทีเรีย
Conjugation เป็นการถ่ายทอดยีนส์จากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง แบบมีเพศ จาก Sex pili Transformation เป็นการถ่ายทอดยีนส์จากบางชิ้นส่วนของ DNA เข้าไปผสมกับ DNA ในโครโมโซมของเซลล์อีกตัวหนึ่ง Transduction เป็นการเคลื่อนย้ายสารพันธุกรรมจากแบคทีเรียตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่ง
46
การผ่าเหล่า (Mutation)
มีการเปลี่ยนแปลงยีนส์ของเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะ โดยมีการปรับตัว เมื่อได้รับน้ำยาฆ่าเชื้อ การกินยาไม่ครบ หรือสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนไป
47
Virus เป็นจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กมากต้องอาศัย กล้องจุลทรรศน์อีเลคตรอนขยายดู มีสารพันธุกรรมเป็น DNA หรือ RNA อย่างใดอย่างหนึ่ง เจริญเติบโตและอาศัยอยู่ในเซลล์ของสิ่งที่มีชีวิตเท่านั้น
48
Virus แตกต่างจากจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆอย่างไร
มีขนาดเล็กมาก ประกอบด้วยกรดนิวคลีอิคเพียงชนิดเดียวคือ DNA หรือ RNA เท่านั้นที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม อาศัยสิ่งที่มีชีวิตในการยังชีพและเจริญพันธุ์ มีโครงสร้างที่เรียบง่าย มีกรดนิวคลีอิคอยู่ตรงกลาง หุ้มด้วยโปรตีน การเพิ่มจำนวนโดย replication คือการพิมพ์ออกจากตัวเดิม ไม่ถูกทำลายด้วยยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
49
โครงสร้างของไวรัส มีกรดนิวคลิอิคชนิดเดียวอยู่ตรงกลาง (Core)
มี Capsid เป็นโปรตีนห่อหุ้ม เป็น Capsomere บางชนิดมี Envelop ซึ่งเป็นไขมันห่อหุ้มข้างนอกอีกชั้น
50
Structure of virus HIV
51
หน้าที่ของ Capsid ป้องกัน DNA หรือ RNA ถูกทำลาย เกาะติดกับ Cell host
ทำให้ไวรัสคงรูปร่างไว้ได้
52
รูปร่างของ Virus Isosahedral คือ รูปร่างทรงเหลี่ยมหรือลูกบาศก์ เช่น Poliovirus Helical คือ รูปร่างแท่งยาว มี capsid เรียงตัวเป็นบันไดเวียน เช่น Paramyxovirus ก่อโรค Mump, Measles) Complex คือ รูปร่างซับซ้อน ประกอบด้วย envelop ซึ่งเป็นไขมันห่อหุ้มภายนอก หรือมี spike เช่น Pox virus, Rhabdovirus มีรูปร่างคล้ายกระสุนปืน ซึ่งก่อโรค Rabies
53
Isosahedral (polio) rabies virus
54
การจำแนกชนิดของ Virus (ต่อ)
ใช้คุณสมบัติทางชีวเคมี ชนิดของกรดนิวคลิอิค DNA หรือ RNA ใช้ลักษณะทางอิมมูน ใช้ลักษณะการติดต่อของโรคโดยธรรมชาติ เช่น ไวรัสที่มียุงเป็นสื่อ เรียกว่า Mosquito-borne virus ยุงลาย ก่อโรค Dengue fever ยุงรำคาญ ก่อโรค Japanese encephalitis ยุงก้นปล่อง ก่อโรค Malaria ไม่ใช่ไวรัส
55
การจำแนกชนิดของ Virus (ต่อ)
ลักษณะของการชอบเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อ ชอบเนื้อเยื่อระบบประสาท เช่น Poliovirus, Rabies ชอบเซลล์ทางเดินหายใจ เช่น Influenza ชอบเซลล์ทางเดินอาหาร เช่น Rota virus ชอบเซลล์ตับ เช่น Hepatitis A, B virus
56
การจำแนกชนิดของ Virus (ต่อ)
จำแนกตามอาการของโรค ติดเชื้อทั่วร่างกาย เช่น ฝีดาษ หัด อีสุกอีใส ไข้เลือดออก ระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัดใหญ่ SARSไข้หวัดนก ผิวหนัง เช่น งูสวัด เริม เยื่อบุตา เช่น ตาแดง จาก adenovirus ตับอักเสบจากไวรัส Hepatitis virus (A,B,C D,E) ต่อมน้ำลาย คางทูม (Mump)
57
การจำแนกชนิดของ Virus (ต่อ)
แบ่งตามลักษณะทางชีวเคมี DNA virus RNA virus
58
DNA Virus Adenoviridae เกิดโรคตาแดงและโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
Papovaviridae Papiloma (หูด) Poxviridae ไข้ทรพิษ (Small pox)
59
DNA Virus Herpes viridae - Herpes simplex ก่อให้เกิดโรคเริม
- Herpes zoster ก่อให้เกิดโรคงูสวัด - Cytomegalovirus (CMV) - Epstein–Barr virus มะเร็งของ Orolpharynx
60
Herpes zoster Herpes simplex
61
RNA virus Piconaviridae -Polio virus, Hepatis A virus
Togaviridae Rubella virus Flaviviridae -Dengue hemorrhagic fever -Japanese encephalitis
62
RNA virus Orthomyxoviridae Influenza Paramyxoviridae -Mump virus
-Measles Rhabdoviridae Rabies
63
RNA virus Retroviridae -Human Immunodeficiency virus Coronaviridae
-SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome)
64
เชื้อรา (fungi) คืออะไร
เป็นสิ่งที่มีชีวิตที่จัดอยู่ในจำพวกพืชไม่มีราก ไม่มีลำต้น ไม่มีใบ ดำรงชีวิตอยู่ด้วยสารอินทรีย์ที่มีชีวิตหรือ ตายแล้ว การสืบพันธุ์อาศัย แบบมีเพศและไม่มีเพศ
65
ลักษณะรูปร่างของเชื้อรา
Molds หรือ Hyphae เป็นเส้นใยหรือเป็นหลอดยาว Hyphae ทำหน้าที่ดูดอาหารไปเลี้ยงเซลล์ หรือ สร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทั้งชนิดมีเพศหรือไม่มีเพศ
67
ลักษณะรูปร่างของเชื้อรา
Yeasts มีรูปร่างกลม หรือ รูปไข่ ขยายพันธุ์โดยการ Budding
68
เชื้อราก่อโรคในคน Superficial mycoses Dermatophyte Systemic mycoses
Opportunistic fungi
69
Superficial mycoses เป็นเชื้อราที่เกิดกับบริเวณผิวหนัง ส่วนนอกสุด (Epidermis) Tinea versicolor เกลื้อน
70
Tinea versicolor เกลื้อน
เกิดจากเชื้อ Malassezia furfur พบมากในคนที่เป็นโรคขาดอาหาร โลหิตจาง ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์ เชื้อชอบไขมันบนผิวหนังของคน ลักษณะผิวหนัง รอยด่างสีขาว แดง อาจมีขุยเล็กๆ หรือเกล็ดเล็กๆ คันเมื่อเหงื่อออก พบรอยด่างตามหน้า หน้าอก คอ หลัง ไหล่ และตามแขนขา ติดต่อได้ด้วยการสัมผัสหรือใช้เสื้อผ้าร่วมกัน
71
Tinea versicolor เกลื้อน
72
Tinea versicolor การวินิจฉัย - Wood light ส่องดูบริเวณรอยด่าง
- ขูดรอยด่าง หยดด้วย 10 % KOH ส่องกล้องจุลทรรศน์
73
การรักษาเกลื้อน 20 % Sodium thiosulfate ทา Salicylic acid ทา
Tolnaftate ทา Selenium sulfide ทา
74
Dermatophyte เป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นกับผิวหนัง ผม เล็บ และขุมขน
* มี 3 genus ประกอบด้วย - Epidermophyton - Microsporum - Trichophyton
75
Tinea capitis เชื้อราที่ผมหนังศีรษะ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ - Microsporum - Trichophyton เป็นกลากที่ขุมขนบนหนังศีรษะ ชันนะตุ พบมากในเด็ก เมื่อหายจากโรคจะมีรอยโรคหลงเหลืออยู่ ไม่มีผมขึ้น
76
Tinea capitis
77
Tinea coporis ขี้กลากตามลำตัว เชื้อที่เป็นสาเหตุ - Microsporum
- Trichophyton มีอาการคัน ผื่นแดงเป็นวงกลม คัน
78
Tinea coporis
79
Tinea unguium ขี้กลากที่เล็บ
Tinea barbae ขี้กลากที่เครา Tinea cruris สังคัง Tinea pedis ฮองกงฟุต
80
Tinea unguium ขี้กลากที่เล็บ
81
Tinea barbae ขี้กลากที่เครา
82
Tinea cruris สังคัง
83
Tinea pedis ฮองกงฟุต
84
Systemic mycoses โรคติดเชื้อราที่เกิดขึ้นกับอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย
Candidiasis Cryptococcosis Histoplasmosis Alfatoxicosis
85
Opportunistic fungi เชื้อราฉวยโอกาส
มักพบในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานลดลง เช่น โรคเอดส์ เชื้อที่พบบ่อย คือ Candida albican Cryptococcus neoformans
86
Candidiasis Candida albican เชื้อราในช่องปาก เป็นฝ้าขาว
เชื้อราในช่องคลอด มีตกขาว คันช่องคลอด มักเกิดในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานอ่อนแอ การรักษาใช้ยา Amphotericin
87
Candidiasis
88
Candidiasis
89
Cryptococcosis เชื้อ Cryptococcus neoformans
มักพบในผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันน้อย เช่น เอดส์ ทำให้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปวดศีรษะ พบเชื้อราในดิน ปุ๋ย ขี้นกพิราบ การติดต่อ โดยหายใจเอาเชื้อเข้าไป การรักษา Amphotericin B
90
cryptococcosis เชื้อ Cryptococcus neoformans มีแคปซูลหุ้ม
91
Histoplasmosis Histoplasma capsulatum
พบเชื้อตามดินปุ๋ย ขี้ไก่ ขี้ค้างคาว การติดต่อ หายใจเอาสปอร์เชื้อราเข้าไป เกิดโรคต่อต่อมน้ำเหลือง ม้าม ตับ ไขกระดูก อาการคล้ายวัณโรค ไข้ เหงื่อออก น้ำหนักตัวลด อ่อนเพลีย
92
Aflatoxicosis เกิดจากรับประทานสารพิษของเชื้อรา (Aflatoxin) เข้าไป
เชื้อราที่สร้างสารพิษคือ Aspergillus flavus เจริญได้ดีในถั่วลิสง มีอาการต่อตับ หรือมะเร็งตับ
93
ขอขอบคุณ อาจารย์ สิทธิ อติรัตนา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช
คุณนิพนธ์ ธัญญวานิช คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เอื้อเฟื้อเอกสารประกอบการสอนบางส่วนและ Specimen
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.