ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThanik Lertkunakorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
1 สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม ส41102 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1กระบวนการทางประวัติศาสตร์(6) เรื่อง การสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ครู จงกล กลางชล
2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้จักใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ สร้างองค์ความรู้ใหม่
3
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ของ ประวัติศาสตร์ไทยด้วยวิธีการ
3 สาระการเรียนรู้ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ของ ประวัติศาสตร์ไทยด้วยวิธีการ ทางประวัติศาสตร์
4
1.องค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ จะเกิดได้ด้วยเหตุผลหลายประการ
4 1.องค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ จะเกิดได้ด้วยเหตุผลหลายประการ ยกเว้นข้อใด ก. ได้ข้อมูลใหม่ ข. เกิดเหตุการณ์ใหม่ ค. ใช้วิธีการศึกษาแบบใหม่ ง. ความสัมพันธ์กับยุคใหม่
5
2.ชาติใดที่ได้รับยกย่องว่ามีการ บันทึกประวัติศาสตร์ไว้อย่าง ดีเยี่ยม
5 2.ชาติใดที่ได้รับยกย่องว่ามีการ บันทึกประวัติศาสตร์ไว้อย่าง ดีเยี่ยม ก. อินเดีย ข. จีน ค. เขมร ง. ไทย
6
3. ตำนานมีความน่าเชื่อถือน้อย เพราะเหตุใด ก. ไม่มีเค้าความจริง
6 3. ตำนานมีความน่าเชื่อถือน้อย เพราะเหตุใด ก. ไม่มีเค้าความจริง ข. มีการแต่งเติมอิทธิปาฎิหาริย์ ค. มักเป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนา หรือการสร้างเมือง ง. ปรากฎชื่อบุคคลและเมืองที่ไม่มีแล้ว
7
4. พงศาวดารเป็นการจดบันทึก เรื่องราวของสิ่งใด
7 4. พงศาวดารเป็นการจดบันทึก เรื่องราวของสิ่งใด ก. เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ข. พระราชกรณียกิจของกษัตริย์ ค. พระพุทธศาสนาและการสร้างพุทธสถาน ง. ความเชื่อ ความศักสิทธิ์
8
5.ประเด็นใดถือเป็นองค์ความรู้ใหม่ ที่สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้
8 5.ประเด็นใดถือเป็นองค์ความรู้ใหม่ ที่สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ ก พระนเรศวรได้กระทำยุทธหัตถี ข. พระนเรศวรไม่มีพระโอรส ในการสืบต่อราชสมบัติ
9
ค. พระนเรศวรได้ทรงส่งเสริม การค้ากับต่างประเทศ
9 ค. พระนเรศวรได้ทรงส่งเสริม การค้ากับต่างประเทศ พระนเรศวรเคยเสด็จไปยังพม่า ในฐานะตัวประกัน
10
องค์ความรูใหม่ด้านการศึกษา ประวัติศาสตร์ไทยและสากล
10 องค์ความรูใหม่ด้านการศึกษา ประวัติศาสตร์ไทยและสากล 1.เป็นความรู้ที่ไม่เคยรู้มาก่อน 2.เกิดจากการตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลเดิม
11
ให้นักเรียนศึกษากรณีศึกษาใน ข้อต่อไปนี้.
11 กรณีศึกษา ให้นักเรียนศึกษากรณีศึกษาใน ข้อต่อไปนี้. พระปรีชาสามารถของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช
12
2. การประชุมเสนาบดีสภาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
12 2. การประชุมเสนาบดีสภาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
13
ให้นักเรียนสรุปให้ได้ว่า จากการ ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ
13 ให้นักเรียนสรุปให้ได้ว่า จากการ ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ ของทั้งสองพระองค์ อะไรเป็นองค์ ความรู้ใหม่ที่นักเรียนได้จากกรณี ศึกษานี้
14
วิชาประวัติศาสตร์กับศาสตร์ต่าง ๆ
14 ความสัมพันธ์ของ วิชาประวัติศาสตร์กับศาสตร์ต่าง ๆ เป็นสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์ เป็นตัวเชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ
15
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทย การเรียนโดยการสืบหาความจริง
15 การศึกษาประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์ History ในภาษา อังกฤษและ คำว่า Historial ในภาษา ละตินและภาษากรีก ซึ่งแปลว่า “ ” การเรียนโดยการสืบหาความจริง
16
16 Jame Harvey Robinson ประวัติศาสตร์เป็นทุกสิ่งที่เรารู้ เกี่ยวกับทุกสิ่งที่มนุษย์ได้ทำ ได้คิด ได้หวังหรือได้รู้สึก
17
1.การเขียนประวัติศาสตร์ แบบตำนาน
17 1.การเขียนประวัติศาสตร์ แบบตำนาน (หลักฐานประเภทบันทึกเป็น ลายลักษณ์อักษรที่ถือว่าเก่าแก่ที่สุด) 2.การเขียนประวัติศาสตร์แบบ พงศาวดาร
18
การศึกษาประวัติศาสตร์ตามแบบสากล
18 การศึกษาประวัติศาสตร์ตามแบบสากล 1. เป็นลักษณะของการวิจัย เชิงประวัติศาสตร์ 2. มีความเคร่งครัดในการใช้วิธีทางการประวัติศาสตร์
19
3. ให้ความสำคัญต่อการรวบรวม หลักฐาน มีการแสวงหาข้อมูลที่หลากหลาย
19 3. ให้ความสำคัญต่อการรวบรวม หลักฐาน มีการแสวงหาข้อมูลที่หลากหลาย และแตกต่างตามประเภทที่ นำเสนอไปแล้ว
20
เรื่อง พัฒนาการของชนชาติไทย
20 พบกันใหม่ใน เรื่อง พัฒนาการของชนชาติไทย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.