ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKapp Suprija ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน Mahasarakham University
2
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ สถิติพื้นฐาน สถิติสำหรับทดสอบสมมุติฐาน สถิติเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยทั่วไปถูกนำไปใช้ใน 3 ลักษณะ
3
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
1. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย 1.1 นวัตกรรม 1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. สถิติพื้นฐาน ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม) การวัดการกระจาย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ พิสัย) 3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย และ การหาความสัมพันธ์
4
แบบสอบถามหรือแบบวัดทางจิตวิทยา สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ
สถิติที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามหรือแบบวัดทางจิตวิทยา สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ ความตรง (Validity) อำนาจจำแนก ความเที่ยง (Reliability)
5
กลุ่มตัวอย่าง(Sample)
ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง(Sample) ค่าพารามิเตอร์ (Parameters) ค่าสถิติ (Statistics) สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
6
ประชากร (Population) Population and Sample
กลุ่มของสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ซึ่งสมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรกลุ่มหนึ่ง ๆ จะมี ลักษณะหรือคุณสมบัติบางอย่างร่วมกัน กลุ่มตัวอย่าง (Sample) กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประชากรที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ดี คือ กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะสำคัญ ครบถ้วนเหมือนกับกลุ่มประชากร
7
ค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติ
เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างมาดำเนินการ ด้วยวิธีการทางสถิติ เช่น สัดส่วน พารามิเตอร์ p กลุ่มตัวอย่าง ค่าที่ได้จากประชากรเรียกว่า “ค่าพารามิเตอร์(Parameters)” ค่าที่ได้กลุ่มตัวอย่างเรียกว่า “ค่าสถิติ (Statistics)”
8
(Parametric Statistics) (NonParametric Statistics)
1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) 2. สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) สถิติพาราเมตริก (Parametric Statistics) สถิตินอนพาราเมตริก (NonParametric Statistics)
9
ไม่มีข้อตกลงเบื้องต้น เกี่ยวกับลักษณะการ แจกแจงของประชากร
เกี่ยวกับลักษณะการ แจกแจงของประชากร มีข้อตกลงเบื้องต้น ที่ต้องทราบ ลักษณะการแจกแจง ของประชากร สถิติพาราเมตริก (Parametric Statistics) สถิตินอนพาราเมตริก (Nonparametric Statistics)
10
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้สถิติ
ในการวิจัยสถาบัน ส่วนมากเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต้องทดสอบสมมติฐานทางสถิติ การทดสอบความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ของค่าพารามิเตอร์ ทำได้ โดยนำค่าพารามิเตอร์มาเปรียบเทียบกัน หรืออธิบาย ความสัมพันธ์ได้เลย สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) จะใช้ก็ต่อเมื่อมีการ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเท่านั้น
11
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ค่าเฉลี่ย สถิติพื้นฐาน ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ สัดส่วน ร้อยละ
12
สถิติสำหรับทดสอบสมมติฐาน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย การทดสอบด้วยสถิติ Z สถิติสำหรับทดสอบสมมติฐาน การทดสอบด้วยสถิติ t การทดสอบด้วยสถิติ F การทดสอบสหสัมพันธ์
13
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน (เปรียบเทียบ)
- กรณี 1 กลุ่มตัวอย่าง (t-test for one sample) - กรณี 2 กลุ่มตัวอย่างไม่อิสระต่อกัน (t-test Dependent samples) - กรณี 2 กลุ่มตัวอย่างที่อิสระต่อกัน (t-test Independent samples) - ความแปรปรวนเท่ากัน (Pooled Variance t-test) - ความแปรปรวนไม่เท่ากัน (Separated Variance t-test) - กรณี 3 กลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน (One-way Repeated Measure) - กรณี 3 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน (One-way ANOVA)
14
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน
t-test one group 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม มากกว่า 2 กลุ่ม อิสระ ไม่อิสระ ANOVA t-test Dependent t-separated t-pooled
15
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน (ความสัมพันธ์)
1. สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple Correlation) rxy 2. สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation) RY.123…n 3. การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis : EFA,CFA) 4. การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) 5.การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) : Par, PAQ, PAL(SEM) 6. การวิเคราะห์พหุระดับ (Multi-Level Analysis) : MMRA, MPAQ , MSEM
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.