ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
Delirium โรคเพ้อ อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
2
Delirium เป็นความผิดปกติที่เกิดจากความเจ็บปวดทางร่างกายชนิดเฉียบพลัน
ผู้ป่วยมีความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ และการรู้การเข้าใจ ทำให้มีอาการเพ้อ วุ่นวาย ก้าวร้าว และเสีย sensorium อาการจะเกิดสั้นๆ
3
สาเหตุ ยารักษาโรค โรคต่อมไร้ท่อ พิษจากสารเสพติด การชัก โรคติดเชื้อ
บาดเจ็บที่สมอง ความผิดปกติของ metabolism เลือดไปเลี้ยงสมองน้อย โรคต่อมไร้ท่อ การชัก การขาดวิตามีน การได้รับสารพิษ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสริมอื่นๆ
4
ลักษณะทางคลินิก Prodrome Around disturbance Attention deficit
Disoriention Sleep-wake disturbance Perceptual disturbance Fluctuating course Memory impairment Disorganized thinking Psychomotor abnormality
5
การวินิจฉัย มีความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว
การเปลี่ยนแปลงด้าน cognitive ความผิดปกติเกิดขึ้นในเวลาสั้นๆ ความผิดปกติเกิดจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาของการเจ็บป่วย
6
การรักษา รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม
บอกกล่าวผู้ป่วยด้วยประโยคสั้นๆ ปลอบใจให้คลายกังวล อธิบายให้ญาติเข้าใจ ป้องกันอุบัติเหตุ
7
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
Dementia สมองเสื่อม อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
8
Dementia การทำงานด้านสติปัญญาลดลง เนื่องจากเนื้อเยื่อในสมองหรือระบบประสาทเสื่อม สูญเสียแบบค่อยเป็นค่อยไป มีการเสื่อมของ cognitive function โดยเฉพาะความจำ ความคิดและเชาว์ปัญญา โดยที่ผู้ป่วยยังรู้ตัวดี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และพฤติกรรม
9
Predisposing factors ปัจจัยเหตุที่เกิดจากพยาธิสภาพที่สมองโดยตรง
Alzhemer’s disease ปัจจัยเหตุที่เกิดจากความบกพร่องในส่วนอื่นของร่างกายที่มีผลกระทบต่อสมอง การติดเชื้อ ได้รับสารพิษ การบาดเจ็บ
10
กลไกการเกิดสมองเสื่อมตามสาเหตุ
การเสื่อมของ cell ประสาท โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อของระบบประสาท การบาดเจ็บที่ศีรษะ การมีก้อนในสมอง กระบวนการเผาผลาญในร่างกายแปรปรวน การเปลี่ยนแปลงภูมิคุ้มกัน ยาและสารพิษ
11
อาการและอาการแสดง ขาดความคิดริเริ่ม ระยะแรก หลงลืมเหตุการณ์ปัจจุบัน
กล่าวโทษผู้อื่นเมื่อผิดพลาด ซึมเศร้า ร่างกายไม่สะอาด บุคลิกภาพเปลี่ยน ระยะแรก หลงลืมเหตุการณ์ปัจจุบัน บกพร่องในการเรียนรู้และจำสิ่งใหม่ ไม่ค่อยมีสมาธิ
12
อาการและอาการแสดง(ต่อ)
ระยะที่สอง บกพร่องในการใช้ภาษา จำวัตถุสิ่งของไม่ได้ เครียดเมื่อต้องตัดสินใจหรือวางแผน บกพร่องการทำกิจวัตร ความจำบกพร่อง ปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาด้านการนอน แนวโน้มจะกลับไปทำพฤติกรรมที่เคยทำในอดีต ปัญหาด้านขับถ่าย ปัญหาด้านโภชนาการ
13
อาการและอาการแสดง(ต่อ)
ระยะที่สาม ผู้ป่วยติดเชื้อง่าย มักจะเสียชีวิตไม่เกิน 1 ปี
14
ลักษณะทางคลินิก Memory impairment Impairment in executive function
Aphasis Apraxia Agosis Executive function Disinhibited behavior Delusion Hallucination
15
Alzheimer ‘s disease อายุมากขึ้น พันธุกรรม สาเหตุ
อายุมากขึ้น พันธุกรรม สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง : ปัญญาอ่อน บาดเจ็บที่สมอง การศึกษาต่ำ โรคหัวใจขาดเลือด
16
ระยะของอัลไซเมอร์ ระยะสับสนระยะแรก
ผู้ป่วยลืมง่าย ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้าลง บุคลิกภาพเปลี่ยน ปฏิเสธอาการที่ตนเองเป็น
17
ระยะสับสนระยะหลัง ความจำบกพร่อง การตัดสินใจผิดพลาด ความสามารถในการทำงานลดลง เสียการรู้จกเวลา สถานที่ แต่จำบุคคลได้
18
ระยะสมองเสื่อมระยะแรก
ต้องพึ่งคนอื่นมากขึ้น ความจำพร่องมากขึ้น มีปัญหาอารมณ์มาก การมีเหตุผลและการตัดสินใจลดลง เริ่มแยกตัวจากสังคม
19
ระยะสมองเสื่อมระยะกลาง
ความสามารถต่างๆ ลดลง ปัญหาพฤติกรรม ความคิดผิดปกติ หลงผิด ระแวง นอนไม่หลับ หูแว่ว ทำอะไรซ้ำๆ เคลื่อนไหวผิดปกติ
20
ระยะสมองเสื่อมระยะปลาย
ผู้ป่วยช่วยตัวเองไม่ได้มาก รับประทานอาหารน้อยลง ต้องการการดูแลทุกเรื่อง
21
ยาเพิ่มประสิทธิภาพของ cell สมอง
Tacrine : ทำให้อารมณ์ พฤติกรรม สมาธิ ภาวะรู้ตัวดีขึ้น Donepezil: เหมือน Tacrine Rivastigmine: ทำให้ความสามารถในการรู้และเข้าใจ ประสิทธิภาพทั่วไป และคุณภาพชีวิตดีขึ้น
22
บทบาทญาติผู้ดูแลผู้ป่วย
ยอมรับผู้ป่วย และอาการของโรค เข้าใจสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออกเป็นผลจากอาการของโรค ดูแลทุกด้าน สังเกตอาการและสิ่งที่ก่อให้ผู้ป่วยเกิดความไม่พอใจ ให้ความอบอุ่น ดูแลใกล้ชิด ให้กำลังใจ มีส่วนช่วยในการรักษา
23
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
Amnesia โรคหลงลืม อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
24
โรคสูญเสียความจำ การวินิจฉัย
ความจำเสื่อม โดยไม่สามารถเรียนรู้ข้อมูลใหม่ กิจกรรมทางสังคม/การงานบกพร่อง ไม่ได้เกิดช่วง delirium, dementia ความผิดปกติเป็นมาจากความเจ็บป่วยทางกาย
25
ชนิดของ Amnesia Blackout : ลืมเหตุการณ์หลังดื่มสุราจัด
Korsakoff’s Syndrome : สูญเสียความจำจากขาดวิตามีน B1 Head Injury: retrograde amnesia ลืมเหตุการณ์ที่เกิดก่อนบาดเจ็บ
26
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.