ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNaruerong Suntornnitikul ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี นิเทศติดตามการทำงานระดับอำเภอ
2
ตัวชี้วัดหลัก การประเมินผลและเกณฑ์การให้รางวัล
เน้นที่ผลการให้บริการเป็นหลัก โดยคิดจากตัวชี้วัด 3 ข้อหลัก คือ อัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 5 อัตราการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นอกกลุ่มเป้าหมาย
3
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน (1)
อัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย (Coverage) จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน X 100 โดยพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบที่ทางสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (ผ่านระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ ณ 30 กย 52) - เป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ คือ มีอัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
4
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน (2)
อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ (Wastage rate) จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้(โด๊ส) จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้(โด๊ส) - จำนวนผู้ที่ได้รับวัคซีน X 100 โดยพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากระบบบริหารวัคซีนคงคลัง (ผ่านระบบ VMI) และจำนวนวัคซีนที่ให้บริการในโครงการฯ - เป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ คือ มีอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการในโครงการฯ ไม่เกินกว่าร้อยละ 5
5
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน (3) อัตราการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นอกกลุ่มเป้าหมาย
จำนวนประชากรนอกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนX 100 จำนวนประชากรวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ทั้งหมด โดยพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบที่ทางสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (ผ่านระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ณ 30 กย 52) - เป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ คือ มีอัตราการได้รับวัคซีนนอกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 0
6
เกณฑ์การให้รางวัล(ต่อ)
อัตราการได้รับวัคซีนของประชาชน น้ำหนักร้อยละ 60 ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 95 ขึ้นไป ได้ 4 คะแนน ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 90 – ได้ 3 คะแนน ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 85 – ได้ 2 คะแนน ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 80 – ได้ 1 คะแนน อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการน้อยกว่าร้อยละ 5 น้ำหนักร้อยละ 30 ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ ได้ 4 คะแนน ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ ได้ 3 คะแนน ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ – ได้ 2 คะแน ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ – ได้ 1 คะแนน
7
เกณฑ์การให้รางวัล(ต่อ)
3. อัตราการให้วัคซีนนอกกลุ่มเป้าหมาย น้ำหนักร้อยละ 10 ถ้าการให้วัคซีนนอกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ได้ 4 คะแนน น้อยกว่าร้อยละ ได้ 3 คะแนน น้อยกว่าร้อยละ – ได้ 2 คะแน น้อยกว่าร้อยละ – ได้ 1 คะแนน
8
กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผล
ปัจจัยหรือตัวชี้วัดในการนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนดำเนินการให้บริการฯ การจัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเก็บรักษาวัคซีนในการให้บริการ ระยะระหว่างการดำเนินการให้บริการฯ การจัดระบบให้บริการ การติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการ การติดตามอาการภายหลังได้รับวัคซีน ระยะหลังดำเนินการให้บริการฯ ติดตามความครอบคลุมของการให้บริการประชากรกลุ่มเป้าหมาย ติดตามอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ ติดตามอัตราการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นอกกลุ่มเป้าหมาย
9
กรอบของปัจจัยหรือตัวชี้วัดอื่นๆ ในการนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน (1)
มีการจัดการประชุมชี้แจงบุคลากรภายในสถานบริการหรือหน่วยบริการให้รับทราบนโยบาย และแนวทางในการดำเนินงานตามโครงการฯ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการฯ มีการประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรภายในหน่วยงาน รับทราบนโยบายและแนวทางในการดำเนินงาน มีการประชาสัมพันธ์ให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมายภายในอำเภอให้รับทราบโครงการฯ และการมารับบริการฉีดวัคซีนฯ มีทะเบียนรายชื่อประชากรกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานของสถานบริการ/หน่วยบริการ กลุ่มเป้าหมายจำแนกรายหมู่บ้าน และรายตำบล กลุ่มเป้าหมายจำแนกรายโรค 6. มีการประมาณการใช้วัคซีนที่ต้องใช้ในการดำเนินการภายในอำเภอ 7. มีแผนงานและการเตรียมการให้บริการ ได้แก่ สถานที่, บุคลากร, กำหนดวันให้บริการฉีดวัคซีน ปริมาณวัคซีน, เวชภัณฑ์ และยา ที่ต้องใช้ในการให้บริการ
10
กรอบของปัจจัยหรือตัวชี้วัดอื่นๆ ในการนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน (2)
8. มีการติดตามระบบการบริหารคลังวัคซีน และจัดเก็บในอุณหภูมิที่ถูกต้อง สถานที่ ตู้เย็นเก็บวัคซีน เทอร์โมมิเตอร์ และมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 2-8 °C บุคลากรรับผิดชอบดูแลคลังวัคซีน บัญชีการเบิก-จ่าย และระบบลูกโซ่ความเย็น ปริมาณวัคซีนเวชภัณฑ์ และยาคงคลัง มีปริมาณเพียงพอในการให้บริการ 9. มีแผนงานหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ สถานที่ บุคลากร ปริมาณวัคซีน เวชภัณฑ์ และยา 10. มีแผนงานการเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน การจัดเตรียมสถานที่ บุคลากร เวชภัณฑ์ที่ใช้ในการดูแลรักษาอย่างเพียงพอ ระหว่างให้บริการ 11. มีแผนงานการติดตามอาการภายหลังได้รับวัคซีน บัตรตอบกลับ การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย ติดตามทางโทรศัพท์ 12. มีแผนงานหรือแนวทางในการรับร้องเรียนและแก้ไขปัญหาผู้ป่วยที่มี อาการภายหลังได้รับวัคซีน คณะทำงานรับเรื่องร้องเรียน ไกล่เกลี่ยปัญหา และให้การช่วยเหลือเบื้องต้น คณะทำงานสอบสวนหาข้อเท็จจริง
11
การพิจารณาให้รางวัลแก่หน่วยงาน ที่มีผลการดำเนินงานดีเด่น
จำนวนรางวัล รวม ระดับเขต (ในแต่ละภาค) 2 (4) 8 ระดับจังหวัด (ในแต่ละเขต) (18) 36 ระดับอำเภอ (ในแต่ละจังหวัด) (76) 152 รวมทั้งสิ้น 196
12
ผู้พิจารณามอบรางวัลให้หน่วยงานดีเด่น
หน่วยงานระดับเขต คณะติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ หน่วยงานในระดับจังหวัด คณะกรรมการประสานการพัฒนางานสาธารณสุขระดับเขต (คปสข.) หน่วยงานในระดับอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
13
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.