งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551

2 อัตราต่อแสนปชก

3 ผลการให้น้ำหนักคะแนนจากเกณฑ์ทั้ง 5 ข้อ ปี 2551 ระยอง 11 กรุงเทพมห านคร 10 นครปฐม 10 ราชบุรี 10 นครสวรรค์ 9 นนทบุรี 9 ประจวบคีรี ขันธ์ 9 สมุทรสาคร 9 สุราษฎร์ ธานี 9 กระบี่ 8 จันทบุรี 8 ฉะเชิงเทรา 8 ปทุมธานี 8 ปราจีนบุรี 8 เพชรบูรณ์ 8 แพร่ 8 ระนอง 8 สมุทรปราก าร 8 > 8 = สูง 6-7 = ปานกลาง 3-5 = น้อย ที่มา : การประชุมติดตามผล การดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกและ พัฒนาแผนกลยุทธ์ปี 2554 วันที่ 10-11 กันยายน 2550 ณ โรงแรมเอกไพลิน ริเวอร์ แคว อำเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี การประชุมติดตามผล การดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกและ พัฒนาแผนกลยุทธ์ปี 2554 วันที่ 10-11 กันยายน 2550 ณ โรงแรมเอกไพลิน ริเวอร์ แคว อำเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี

4 เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2550กับมัธยฐาน 5 ปี (2546-2550) จำแนกเดือน (ข้อมูล ณ 25 พค 51) อัตราต่อแสนปชก

5 อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามอำเภอ(ข้อมูล ณ 25 พค 51) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

6 แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม (ณ 25 พค 51) พื้นที่ที่พบไข้เลือดออกตั้งแต่ 1 มค 51 -20 พค 51

7 อัตราป่วยตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2551 จ.นครปฐมเทียบกับ ประเทศไทย แหล่งที่มา : รายงาน 506 งานระบาดวิทยา สสจ. นครปฐมและ สำนักระบาดวิทยา ณ 25 พค 51

8 สิ่งที่ควรดำเนินการ เร่งด่วน พื้นที่ที่ป่วยซ้ำซากติดต่อกัน 5 ปี ต้องหามาตรการที่แตกต่างจาก พื้นที่อื่น พื้นที่ที่อยู่ติดต่อกับพื้นที่ที่พบ ผู้ป่วยในขณะนี้ ต้องเฝ้าระวัง เป็นพิเศษ เน้นการประชาสัมพันธ์... สร้างกระแส

9 ขอเชิญแพทย์ทุกท่าน ร่วมประชุมเรื่องไข้เลือดออก วันที่ 9 มิถุนายน 51 เวลา 13.00 น. ณ ชั้น 5 ห้องเบญจรัตน์ โรงพยาบาลนครปฐม

10 เดือนนี้ต้องระวังเรืองโรค โรคมือเท้าปาก โรคสุกใส ไข้สมองอักเสบเจ อี

11 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนของโรคมือ เท้า ปาก จำแนกตามรายปี ประเทศไทย ปีพ.ศ. 2544 - 2550

12 จำนวนรายงานผู้ป่วย HFM จำแนก ตามสัปดาห์เริ่มป่วย จำนวน สัปดาห์

13

14

15 การควบคุมการระบาด การแยกผู้ป่วยที่กำลังป่วยอยู่ การเฝ้าระวังผู้ป่วยรายใหม่ เพื่อ แยกจากผู้อื่น การกำจัดเชื้อในห้องเรียน การกำจัดเชื้อในอุปกรณ์ของใช้ ส่วนตัวของเด็ก การกำจัดเชื้อในห้องน้ำ การทำความสะอาดสระว่ายน้ำ การล้างมือ การเฝ้าระวังจนการระบาดสิ้นสุด การแจ้งเตือนพื้นที่เสี่ยง การเฝ้าระวังพื้นที่ใกล้เคียง

16

17 http://nptho.moph.go.th/

18 Darunee Phosri


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google