งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2

3

4 เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด
ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ การป้องกัน/ควบคุมการระบาดก็ยังดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

5 ข้อสั่งการ Warroom กระทรวง เมื่อ 13 มิถุนายน 56

6 ให้เปิด War room ทุกจังหวัด
ประกอบด้วยผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายในหน่วยงานสาธารณสุขและนอกหน่วยงาน (ตามดุลยพินิจของจังหวัด) ติดตามสถานการณ์ ให้ข้อเสนอแนะ ชี้เป้าพื้นที่เสี่ยง ติดตามผลการดำเนินงาน ฯลฯ ยุทธศาสตร์ 5 เสือ : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1) มอบ ผชชว. เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ ในระดับจังหวัด 2) มอบให้ สคร จัดผู้รับผิดชอบ 1 คน/จังหวัด 3) รพศ/รพท. ขอให้มีแพทย์ 1 คน เป็นหัวหน้าทีมรับผิดชอบเป็นพี่เลี้ยงในการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ บุคลากร ในจังหวัด 4) รพช. มีแพทย์หรือพยาบาลอาวุโส 1 คน เป็นผู้รับผิดชอบ 5) จัดให้มีตัวแทน SRRT ระดับอำเภอ ในส่วนปฏิบัติการ 1 คน โดยให้ดำเนินการประสานงานอย่างใกล้ชิด ทั้งในระดับจังหวัด และระดับอำเภอ

7 ผชช.ว : ภารกิจเน้นในด้านมาตรการ ควบคุมกำกับและประเมินผล
สรุปข้อสั่งการ การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 16/2556 วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ผชช.ว : ภารกิจเน้นในด้านมาตรการ ควบคุมกำกับและประเมินผล ติดตามประเมินผลเป็นรายอำเภอ โดย สคร เป็นทีมช่วยออกประเมินในพื้นที่ให้ชัดเจน ประสานและรายงานท่านผู้ตรวจฯ เกี่ยวกับแนวทางและปัญหาอุปสรรค เพื่อสรุปผลเสนอต่อรองปลัดฯ (นพ.โสภณ ) ทุกวันอังคาร

8 5 เสือ เป็นใคร ควรมีบทบาทอย่างไร
หน่วยงาน บุคคล บทบาท 1 สสจ. ผชช.ว. เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ตามระบบ ICS (เมื่อเปิด War room) หรือ Mr.Dengue 2 สคร. ผู้ประสานจังหวัด ที่ปรึกษาทางวิชาการ ประสานส่วนกลาง และเป็นผู้แทนทีมประเมินผลของ สคร. 3 รพศ./รพท. รองฯแพทย์ หรือแพทย์ที่ได้รับมอบหมาย เป็น Case manager ระดับจังหวัด (หรือ Dr.Dengue) เป็นพี่เลี้ยงให้กับโรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัด 4 รพช. แพทย์หรือพยาบาลอาวุโส เป็น Case manager ระดับอำเภอ บริหารจัดการให้ผู้ป่วยทุกรายในอำเภอ ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ 5 ทีม SRRT อำเภอ ผู้แทนหรือแกนหลักของทีม เป็นผู้แทนทีมปฏิบัติการในพื้นที่ของอำเภอ

9 Case manager Disease manager การควบคุมการระบาดในชุมชน
การจัดการระบบรักษาและควบคุมโรคใน รพ. ต้องจัดการให้ผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ป่วยหนักได้รับการรักษาที่เหมาะสม ซึ่งจะครอบคลุมตั้งแต่การจัดระบบบริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน สำรองเตียง การส่งต่อ การสื่อสารระหว่าง รพ.เล็ก กับ รพ.ใหญ่ Disease manager การควบคุมการระบาดในชุมชน การจัดทีมออกดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรค การประสานให้ทุกภาคส่วนกำจัดลูกน้ำต่อเนื่อง การจัดระบบสั่งการ war room

10 องค์ประกอบ Dengue corner
Staff: พยาบาลคัดกรอง มีความรู้เรื่องไข้เลือดออก Structure: เครื่องมือตรวจ vital sign ยาทากันยุง เอกสารแนะนำการสังเกตอาการ และการปฏิบัติตัว CPG หรือ แผนภูมิการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วย Support:

11 แนวทางการดำเนินงาน Dengue corner (กรมฯแนะนำ 1 ก.ค.56)
1. การตรวจคัดกรองตามแนวทาง CPG สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ 2. ให้ผู้ป่วยทายากันยุง 3. การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยสงสัยที่จะกลับบ้านประกอบด้วย: ในกลุ่ม – แพทย์สงสัยว่าท่านป่วยเป็นไข้เลือดออก – แพทย์จะยังไม่รับไว้ในโรงพยาบาล ประเด็น : – ท่านจะมีอาการไข้สูงลอย ในวันที่ 3-4 นับจากมีไข้วันแรกจะอยู่ใน ช่วงวิกฤต หากกลับบ้านแล้วมีอาการกินไม่ได้ อาเจียน ให้มาพบแพทย์ – ให้ผู้อยู่ร่วมบ้านฉีดยาฆ่ายุงและสำรวจเพื่อกำจัดลูกน้ำ – แจ้งเตือนเพื่อนบ้านว่าไข้เลือดออกระบาดในหมู่บ้าน ให้ร่วมกันกำจัดลูกน้ำ      

12 ไม่มี -> -ตรวจ CBC ถ้ามีไข้มากกว่า 48 ชม.
ไข้สูง> 38.5oC ไม่มีอาการเฉพาะ การตรวจคัดกรองที่แผนกผู้ป่วยนอกในรพช. [อ้างอิงสำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2547] ตรวจทูนิเกต์ บวก ลบ ซักประวัติตรวจร่างกาย ปวดท้องมาก อาเจียนมาก เลือดออก มีภาวะขาดน้ำ ช็อค (pulse pressure แคบเช่น 100/80 mmHg) ความดันต่ำ ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็น เหงื่อออก ระบบไหลเวียนโลหิตปลายมือปลายเท้าไม่ดี capillary refill>2 วินาที ให้การรักษาเบื้องต้น นัดตรวจติดตามถ้าอาการทั่วไปดี ไม่มีภาวะช็อคหรือขาดน้ำ ตรวจทูนิเกต์ซ้ำ ในกรณีมีไข้มากกว่า 48 ชั่วโมงให้พยายามหาสาเหตุ ไม่มี -> -ตรวจ CBC ถ้ามีไข้มากกว่า 48 ชม. -นัดตรวจติดตาม หรือพิจารณา admit มี -> admit

13

14

15 มาตรการ 3-3-1 ควบคุมโรคไข้เลือดออก
เน้นการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด (ประเมินจากสถานการณ์รายสัปดาห์ของพื้นที่) เน้นการควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในพื้นที่ ที่พบผู้ป่วย แจ้งรายงานผู้ป่วยให้หน่วยงานควบคุมโรคทราบ ภายใน 3 ชั่วโมง กำชับ อสม. ให้ลงดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่บ้าน/ชุมชนผู้ป่วย ภายใน 3 ชั่วโมง ทีม SRRT ลงดำเนินการควบคุมโรคในพื้นที่ ภายใน 1 วัน

16 สคร. ต้องทำอะไรบ้าง ติดตามสถานการณ์โรค ชี้เป้าถึงระดับอำเภอ ตำบล
สุ่มประเมิน HI ชุมชน, CI โรงเรียน, CI โรงพยาบาล CI วัด CIศูนย์เด็กเล็ก HI ≤ CI=0 (แจ้ง ผชช.ว. และรายงานผู้ตรวจฯ) ประเมินประสิทธิภาพและปัญหาการปฏิบัติงานของ SRRT อำเภอ สนับสนุนการดำเนินการของจังหวัด ตามยุทธศาสตร์ และการควบคุมโรคในกรณีเกิดการระบาด


ดาวน์โหลด ppt เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google