ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
“งานของหมอและประชาชน” นพ.ธีรยุทธ เจียมจริยาภรณ์ สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์
2
จังหวัดกำแพงเพชรมีประชากรรวม 725,961 คน
คาดว่าจังหวัดกำแพงเพชร มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 ประมาณ 61,706 ราย บุคคลากรดูแลโรคไตที่ ร.พ.กำแพงเพชร อายุรแพทย์ 2 ท่าน พยาบาลดูแลงานโรคไต 4 ท่าน เครื่องล้างไต 6 เครื่อง อำเภอคลองขลุง มีประชากร 73,347 คน
3
ประสานงานกับภาคีเครือข่าย
4
การดำเนินงานป้องกันโรคไต
1. สร้างความตระหนักถึงอันตรายของโรคไตให้แก่ประชาชน 2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงและให้การรักษาตั้งแต่ระยะต้น
5
การกินอาหารเค็มทำให้ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงทำให้เป็นโรคไต
ประเด็นสำคัญในการสร้างความตระหนัก “ลดเค็ม” การกินอาหารเค็มทำให้ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงทำให้เป็นโรคไต
6
อาหารเค็มทำให้ความดันโลหิตสูงเพราะมีเกลือ ซึ่งประกอบด้วย“แร่ธาตุโซเดียม”
คนเราได้รับเกลือจาก… กินจากอาหารตามธรรมชาติ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ เครื่องปรุงรสต่างๆ น้ำปลา ซีอิ๊ว กะปิ ปลาร้า ผงชูรส ซุปก้อน มีโซเดียมมากแต่ไม่เค็ม
7
ปริมาณการบริโภคเกลือเฉลี่ยของประชากรไทย (พ.ศ. 2550-2551)
กรัมต่อวัน โครงการสำรวจการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย พ.ศ , กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ที่ถูกต้องคือ ไม่เกิน 6 กรัมต่อวัน
8
น้ำปลา เกลือ 6 กรัม เท่ากับ น้ำปลา 3 ช้อนชา ข้อแนะนำ คือ กินน้ำปลาไม่เกิน 3 ช้อนชาต่อวัน
9
อบรม อสม. อำเภอคลองขลุง 1,033 คน
10
เกมส์ “คุณเค็มแค่ไหน? ”
12
การดำเนินงานป้องกันโรคไต
2. คัดกรองและให้การรักษาตั้งแต่ระยะต้น โดยบูรณาการระบบสาธารณสุขกับเครือข่ายชุมชน
13
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร.พ.คลองขลุง 3,554 ราย
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อายุมากกว่า 60 ปี (ข้อใดข้อหนึ่ง) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร.พ.คลองขลุง 3,554 ราย โรคไตระยะที่ 3 : 851 ราย โรคไตระยะที่ 4 : 123 ราย โรคไตระยะที่ 5 : 12 ราย OPD DM, HT ร.พ.คลองขลุง 3,554 ราย CKD stage 3 : 851 cases CKD stage 4 : 123 cases CKD stage 5 : 12 cases BP < 130/80 : 46% 986 ราย (27.7%)
14
เป้าหมายในการรักษาโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลชุมชน
ตัวชี้วัดในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เป้าหมาย 1. ความดันโลหิต < 130 / 80 มิลลิเมตรปรอท > 80 % 2. ใช้ยาลดความดัน ACEI / ARB เพื่อชะลอการเสื่อมของไต 3. ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด < 7% 4. รับประทานอาหารที่มี โซเดียม < 2,300 มิลลิกรัมต่อวัน และโปรตีน < 0.8 กรัมต่อน้ำหนักหนึ่งกิโลกรัมต่อวัน แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ. 2552
15
ทีมปฏิบัติงาน CKD clinic
พยาบาล แพทย์ เภสัชกร โภชนากร นักกายภาพ ทีมปฏิบัติงาน CKD clinic
16
เครือข่ายเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย”
เครือข่ายเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย” รพ.สต เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และตรวจสอบการใช้ยา อสม. วัดความดันโลหิต บันทึกรายการอาหารและออกกำลังกาย ผู้ดูแล ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร
17
“ บันได 4 ขั้น ป้องกันโรคไต ”
กิจกรรมเยี่ยมบ้าน ประเมินการรับประทานอาหารผู้ป่วย และให้คำแนะนำที่เหมาะสม วัดความดันโลหิต ตรวจสอบการใช้ยา ติดตามการออกกำลังกาย “ บันได 4 ขั้น ป้องกันโรคไต ”
18
อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
น้ำปลา ไม่เกินวันละ 3 ช้อนชา เนื้อสัตว์ ไม่เกินวันละ 8 ช้อนโต๊ะ
19
อบรมผู้ป่วยและผู้ปรุงอาหาร
20
กินอย่างไรให้พอเพียง
22
แกงส้ม 5 ช้อนโต๊ะ แกงส้ม 5 ช้อนโต๊ะ 2.5
23
ยาชุดแก้ปวด เภสัชกร ยาล้างไต
25
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.