ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคในระบบต่อมไร้ท่อ
2
โรคคอพอกธรรมดา
3
โรคคอพอกธรรมดา คอพอก หมายถึง ภาวะที่มีการโตขึ้นของต่อม ธัยรอยด์
คอพอก หมายถึง ภาวะที่มีการโตขึ้นของต่อม ธัยรอยด์ อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการคอโตกว่าปกติ ทำให้หายใจ ลำบาก หรือกลืนอาหารลำบาก โดยไม่มีอาการ ผิดปกติของร่างกายอื่นๆ
4
โรคคอพอกธรรมดา สาเหตุ 1.เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน
2.การเปลี่ยนแปลงปกติของร่างกาย เนื่องจากร่างกายต้องการฮอร์โมนธัยรอยด์มากขึ้น ต่อมธัยรอยด์จึงทำงานมากกว่าปกติ จึงเกิดคอพอกขึ้น 3.ความผิดปกติของเอนไซม์ ในการสร้างธัยรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งเป็นตั้งแต่กำเนิด ไม่ทราบสาเหตุ (พบร้อยละ 70 ของผู้ป่วยทั้งหมด)
5
โรคคอพอกธรรมดา วิธีรักษา
1. คอพอกเนื่องจากขาดสารไอโอดีน ให้กินอาหารที่มีสารไอโอดีน เช่น อาหารทะเล หรือแพทย์อาจให้กินยาไอโอไดด์ 2. คอพอกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ไม่ต้องรักษาอย่างไร เพราะจะยุบหายไปได้เอง เมื่อพ้นระยะวัยรุ่น หรือหลังคลอด 3. คอพอกชนิดไม่ทราบสาเหตุ แพทย์อาจให้ธัยรอยด์ฮอร์โมน เพื่อกดการเจริญเติบโตของต่อมธัยรอยด์ แต่หากคอโตมากๆ มีอาการหายใจลำบากหรือกลืนอาหารลำบาก จะรักษาโดยการผ่าตัด
6
โรคแอดดิสัน
7
โรคแอดดิสัน โรคแอดดิสัน หมายถึง ภาวะพร่องฮอร์โมนสเตอรอยด์เรื้อรัง
อาการ เบื่ออาหารน้ำหนักลด เหนื่อยง่าย และซีด ท้องเสียหรือท้องผูกบ่อย ท้องอืดเฟ้อปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังจะมีสีดำคล้ำที่บริเวณที่มีรอยถูไถ เช่น ข้อเข่า ข้อพับ ข้อศอก ที่ หน้า หัวนม เป็นต้น และบริเวณเยื่อเมือกในช่องปาก (เหงือก ริมฝีปาก กระพุ้ง แก้ม ลิ้น)
8
โรคแอดดิสัน สาเหตุ การรักษา ข้อแนะนำ
เกิดจากต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อยกว่าปกติ การรักษา ให้กินสเตอรอยด์ เช่น ไฮโดรคอร์ติโซน (Hydrocortisone) วันละ มิลลิกรัม แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง ซึ่งควรกินเป็นประจำทุกวันไปจนตลอด ชีวิต ข้อแนะนำ ผู้ป่วยควรกินอาการให้เค็มจัด เพราะต้องการเกลือโซเดียมมากขึ้น โรคนี้มีทางรักษาให้มีชีวิตยืนยาวเช่นคนปกติแต่ต้องกินยาทุกวัน อย่าได้ขาด
9
โรคซีแฮน
10
โรคซีแฮน อาการ โรคชีแฮน
พบในผู้หญิงที่มีประวัติตกเลือดรุนแรง หรือเป็นลมขณะคลอด บุตร ทำให้ต่อมใต้สมองขาดเลือด เซลล์บางส่วนตายไป อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย ทำงานเชื่องช้า คิดช้า ขี้หนาว ซีด หน้าตาดูแก่เกินวัย ผิวหนังหยาบแห้ง วิงเวียน ความดันเลือดต่ำ ขนรักแร้และขนในบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ร่วง ประจำเดือนไม่มา เป็นหมัน
11
โรคซีแฮน การรักษา แพทย์จะให้ฮอร์โมนทีละหลายๆ ชนิด เช่น ฮอร์โมนของต่อม ธัยรอยด์, เพร็ดนิโซโลน ก็อาจช่วยให้ร่างกายมีความ กระปรี้กระเปร่า มีเรี่ยวแรง สามารถทำงานได้เหมือนปกติ ซึ่ง คนไข้ควรจะกินยาไปตลอดชีวิต
12
โรคของหญิงวัยหมดประจำเดือน
13
โรคของหญิงวัยหมดประจำเดือน
มักพบในผู้หญิงที่ใกล้ประจำเดือนหมด หรือหมดไปแล้ว สาเหตุ มีสาเหตุจากการลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกายร่วมกับความแปรปรวนทางด้านจิตใจและอารมณ์
14
โรคของหญิงวัยหมดประจำเดือน
อาการ ก่อนประจำเดือนจะหมดอย่างถาวร มักมีประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ มีอาการร้อนซู่ซ่าตามผิวกายใจสั่นปวดตามข้อ ปวดศีรษะ ขี้วิตกกังวล ซึมเศร้า ไม่มีสมาธิ และนอนไม่หลับ การรักษา 1. ถ้าผู้ป่วยมีอาการเพียงน้อย จะหายได้เองในไม่ช้า 2. ถ้ามีอาการไม่สบายมาก ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ถ้าหงุดหงิด นอนไม่หลับ ให้ ไดอะซีแพม ถ้าปวดข้อหรือปวดศีรษะ ให้ยาแก้ปวด เป็นต้น
15
โรคเบาหวาน
16
โรคเบาหวาน เบาหวาน เป็นความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ ส่งผลทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงหรือต่ำเกินไปจน ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินต่อร่างกาย
17
โรคเบาหวาน อาการ ปัสสาวะมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น
หิวน้ำบ่อยและดื่มน้ำในปริมาณที่มากๆ เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง ติดเชื้อบ่อยกว่าปกติ เช่น ติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร สายตาพร่ามองเห็นไม่ชัดเจน เป็นแผลหายช้า
18
โรคเบาหวาน สาเหตุของโรคเบาหวาน
1. กรรมพันธุ์ 2. ความอ้วน 3. ความเครียด อาจกระตุ้นให้มีการหลั่งฮอร์โมนที่ขัดขวางการทำงานของ อินซูลิน 5. โรคติดเชื้อ อาจทำให้ตับอ่อนสร้างอินซูลินได้น้อยลง 6. การตั้งครรภ์ 7. พิษสุราเรื้อรัง ผู้ที่ดื่มสุราจัดและดื่มเป็นประจำ ทำให้ตับอ่อนเสื่อม สมรรถภาพได้
19
โรคเบาหวาน การรักษา เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน คือควบคุมอาหาร
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ การใช้ยา ยาเม็ดลดน้ำตาล ฉีดอินซูลิน
21
บรรณานุการกรม http://www.thaigoodview.com/node/30192
pdf
22
สมาชิกในกลุ่ม นาย ณัฐพงศ์ เวศวงศ์ษาทิพย์ เลขที่ 2ข ม.5/1
นาย ณัฐพงศ์ เวศวงศ์ษาทิพย์ เลขที่ 2ข ม.5/1 นาย ภาณุพงศ์ วงศ์โกศลจิต เลขที่ 3ข ม.5/1 นางสาว ปานชนก เกาลวณิชย์ เลขที่ 9ก ม.5/1 นางสาว ระพีพัฒน์ วัชเรนทร์พงศ์ เลขที่ 13ข ม.5/1
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.